ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สองของปี 2565 และแนวโน้มปี 2565

NESDC ECONOMIC REPORT

ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สองของปี 2565 และแนวโน้มปี 2565

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 2.5

ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้า (%YoY)

และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สอง

ของปี 2565 ขยายตัวจากไตรมาสแรกของปี 2565 ร้อยละ 0.7

(QoQ_SA) รวมครงึ่ แรกของปี 2565 เศรษฐกจิ ไทยขยายตวั รอ้ ยละ 2.4

ด้านการใช้จ่าย การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการส่งออก

บริการขยายตัวเร่งขึ้น การส่งออกสินค้า การใช้จ่ายภาครัฐ และ

การลงทุนภาคเอกชนชะลอตัวลง ขณะที่การลงทุนภาครัฐปรับตัว

ลดลงต่อเนื่อง

ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขายส่ง

ขายปลีก และการซ่อมฯ และสาขาขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าขยายตัว

เร่งขึ้น สาขาเกษตรกรรมและสาขาการไฟฟ้าและก๊าซฯ ชะลอตัว

ในขณะที่สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสาขาการก่อสร้าง

ปรับตัวลดลง แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.7 ? 3.2

โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวดีขึ้นของการบริโภคภาคเอกชนและ

ภาคการท่องเที่ยว รวมทั้งการส่งออกสินค้าที่ขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง

โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. จะเพิ่มขึ้นร้อยละ

7.9 การอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 4.4 และ

ร้อยละ 3.1 ตามลาดับ ส่วนอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 6.3 ? 6.8

และดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลร้อยละ 1.6 ของ GDP

การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในช่วงที่เหลือของปี 2565 ควรให้ความสาคัญกับ (1) การติดตามและดูแลกลไกตลาดเพื่อให้ราคาสินค้า

เคลื่อนไหวสอดคล้องกับต้นทุนการผลิต ควบคู่ไปกับการดูแลกลุ่มผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มที่มีความเปราะบางต่อการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและภาระ

ดอกเบี้ยแบบมุ่งเป้า (2) การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร โดยให้ความสาคัญกับ (i) การบรรเทาผลกระทบแก่เกษตรกรจากปัญหา

การขาดแคลนวัตถุดิบและปัญหาต้นทุนการผลิต (ii) การเตรียมการและป้องกันปัญหาจากอุทกภัย และ (iii) การเพิ่มส่วนแบ่งของเกษตรกรในรายได้

จากการจาหน่ายผลผลิตขั้นสุดท้าย (3) การดูแลและแก้ไขปัญหาหนี้สินของลูกหนี้รายย่อยท่ามกลางแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย

ทั้งภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) (4) การรักษาแรงขับเคลื่อนจากการส่งออกสินค้า โดย (i) การขับเคลื่อน

การส่งออกสินค้าสาคัญไปยังตลาดหลักและการสร้างตลาดใหม่ให้กับสินค้าที่มีศักยภาพ (ii) การพัฒนาสินค้าเกษตร อาหาร และสินค้าอุตสาหกรรม

ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตรงตามข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า (iii) การใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค

(RCEP) ควบคู่ไปกับการเร่งรัดการเจรจาความตกลงการค้าที่อยู่ในขั้นตอนการเจรจา และเตรียมศึกษาเพื่อเจรจากับประเทศคู่ค้าสาคัญใหม่ ๆ

และ (iv) การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อรองรับความผันผวนอัตราแลกเปลี่ยน (5) การสนับสนุนการฟื้นตัวของการท่องเที่ยว

และบริการเกี่ยวเนื่อง โดย (i) การส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวคุณภาพสูง (ii) การพิจารณามาตรการสินเชื่อและมาตรการสนับสนุนอื่น ๆ

ให้ผู้ประกอบการในภาคการท่องเที่ยวสามารถกลับมาประกอบธุรกิจ (iii) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง และ (iv) การส่งเสริม

การท่องเที่ยวภายในประเทศ (6) การส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน โดย (i) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริม

การลงทุนในช่วงปี 2562 – 2564 ให้เกิดการลงทุนจริง โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย (ii) การแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและ

การประกอบธุรกิจ รวมทั้งปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต (iii) การดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุนเชิงรุกและอานวยความสะดวกเพื่อดึงดูด

นักลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย (iv) การส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษต่าง ๆ

ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว รวมถึงขับเคลื่อนพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษในแต่ละภูมิภาค (v) การขับเคลื่อนการลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้าง

พื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ๆ และ (vi) การพัฒนากาลังแรงงานทักษะสูง (7) การขับเคลื่อนการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ และ

(8) การติดตาม เฝ้าระวัง และเตรียมมาตรการรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจและการเงินโลก และความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2565 และแนวโน้มปี 2565

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 2.5 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.3 ในไตรมาสแรกของปี 2565 ด้านการใช้จ่าย การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการส่งออกบริการขยายตัวเร่งขึ้น การส่งออกสินค้า การใช้จ่ายภาครัฐ และการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว ขณะที่การลงทุนภาครัฐปรับตัวลดลงต่อเนื่อง ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขายส่ง ขายปลีก และการซ่อมฯ รวมทั้งสาขาขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าขยายตัวเร่งขึ้น สาขาเกษตรกรรมและสาขาการไฟฟ้าและก๊าซฯ ชะลอตัว ในขณะที่สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสาขาการก่อสร้างปรับตัวลดลง เมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่สองของปี 2565 ขยายตัวจากไตรมาสแรกของปี 2565 ร้อยละ 0.7 (%QoQ_SA) รวมครึ่งแรกของปี 2565 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 2.4

1) การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 6.9 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลให้พฤติกรรมการใช้จ่ายของประชาชนปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติมากขึ้น โดยการใช้จ่ายหมวดบริการขยายตัวร้อยละ 13.7 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร และกลุ่มนันทนาการและวัฒนธรรมร้อยละ 56.9 และร้อยละ 6.8 ตามลาดับ และการใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 1.9 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการใช้จ่ายหมวดเครื่องเรือนและเครื่องตกแต่ง และกลุ่มเสื้อผ้าและรองเท้าร้อยละ 1.0 และร้อยละ 2.4 ตามลาดับ ส่วนการใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 2.7 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของ การใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้าและก๊าซฯ ที่ขยายตัวร้อยละ 0.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า และการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนขยายตัวร้อยละ 3.4 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะร้อยละ 10.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 14.1 ในไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี้ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 34.9 จากระดับ 37.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามความกังวลเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของภาระค่าครองชีพท่ามกลางความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาล ขยายตัวร้อยละ 2.4 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 7.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยรายจ่ายการโอนเพื่อสวัสดิการทางสังคมที่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดขยายตัวร้อยละ 17.0 ชะลอลงจากการขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 87.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ค่าตอบแทนแรงงาน (ค่าจ้าง เงินเดือน) และค่าซื้อสินค้าและบริการขยายตัวร้อยละ 1.3 และร้อยละ 0.1 ตามลาดับ สาหรับอัตรา การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 22.9

รวมครึ่งแรกของปี 2565 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 5.2 และการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาลขยายตัวร้อยละ 4.7

2) การลงทุนรวม ลดลงร้อยละ 1.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการลงทุนภาครัฐที่ลดลงร้อยละ 9.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการลดลงของการลงทุนรัฐบาลร้อยละ 15.1 ขณะที่การลงทุนรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 2.9 สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 18.0 (สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 15.1 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 20.5 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) ส่วนการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 2.3 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของการลงทุนเครื่องมือเครื่องจักรที่ขยายตัวร้อยละ 3.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่การลงทุนก่อสร้างลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 1.3 แต่ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 8.0 ในไตรมาสก่อนหน้า และหมวดการก่อสร้างเอกชนอื่น ๆ ปรับตัวลดลงร้อยละ 40.9 ตามการลดลงของกิจกรรมการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีเหลืองและสายสีชมพูซึ่งอยู่ในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้างก่อนที่จะเริ่มเปิดให้บริการบางส่วนในปีนี้

รวมครึ่งแรกของปี 2565 การลงทุนรวมลดลงร้อยละ 0.1 โดยการลงทุนภาครัฐลดลงร้อยละ 6.8 ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 2.6

3) การส่งออกสินค้า มีมูลค่า 74,523 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 9.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 14.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณและราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 และร้อยละ 5.1 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 และร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เช่น เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี (ร้อยละ 4.9) เครื่องจักรและอุปกรณ์ (ร้อยละ 7.0) แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน (ร้อยละ 9.4) ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ 3.8) อุปกรณ์และเครื่องมือด้านการแพทย์ (ร้อยละ 8.0) อาหารสัตว์ (ร้อยละ 21.6) ข้าว (ร้อยละ 46.6) ยางพารา (ร้อยละ 3.0) และน้าตาล (ร้อยละ 113.6) เป็นต้น กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกลดลง เช่น รถยนต์นั่ง (ลดลงร้อยละ 48.3) รถกระบะฯ (ลดลงร้อยละ 9.6) ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ 10.1) และผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลงร้อยละ 13.1) เป็นต้น การส่งออกสินค้าไปยังตลาดส่งออกหลักขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดจีน ฮ่องกง และออสเตรเลียลดลง เมื่อหักการส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 9.9 และเมื่อคิดในรูปของเงินบาท มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 20.5

รวมครึ่งแรกของปี 2565 การส่งออกสินค้ามีมูลค่า 147,811 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 12.0 โดยปริมาณและราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 และร้อยละ 4.6 ตามลาดับ

4) สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 4.4 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย และปริมาณน้าเพียงพอต่อการเพาะปลูก ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรที่เพิ่มขึ้น เช่น ข้าวเปลือก (ร้อยละ 35.6) กลุ่มไม้ผล (ร้อยละ 26.9) อ้อย (ร้อยละ 7.6) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ร้อยละ 6.7) และไก่เนื้อ (ร้อยละ 1.0) ส่วนดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญที่ลดลง เช่น สุกร (ลดลงร้อยละ 9.0) ปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 8.9) มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 9.6) กุ้งขาวแวนนาไม (ลดลงร้อยละ 10.0) และยางพารา (ลดลงร้อยละ 0.7) ดัชนีราคาสินค้าเกษตร เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 โดยสินค้าเกษตรที่ดัชนีราคาปรับตัวเพิ่มขึ้น เช่น สุกร (ร้อยละ 28.9) ปาล์มน้ามัน (ร้อยละ 85.1) ไก่เนื้อ (ร้อยละ 22.9) อ้อย (ร้อยละ 15.4) และยางพารา (ร้อยละ 9.4) ส่วนสินค้าเกษตรที่ดัชนีราคาปรับตัวลดลง เช่น กลุ่มไม้ผล (ลดลงร้อยละ 23.4) เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของทั้งดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 16.3

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงขยายตัวร้อยละ 4.6

5) สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ลดลงร้อยละ 0.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของทุกกลุ่มการผลิต ซึ่งส่วนหนึ่งได้รับผลกระทบจากปัญหาข้อจากัดในห่วงโซ่การผลิตโลก สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 0.7 โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ปรับตัวลดลงร้อยละ 2.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) ลดลงร้อยละ 0.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อนหน้า และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 ? 60 ลดลงร้อยละ 0.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้า อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 61.08 ต่ากว่าร้อยละ 66.53 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 62.65 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ลดลงร้อยละ 29.6) การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ลดลงร้อยละ 11.6) และการผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ลดลงร้อยละ 10.6) เป็นต้น ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 14.6) การผลิตยานยนต์ (ร้อยละ 1.6) การผลิตผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ (ร้อยละ 12.2) เป็นต้น

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาการผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 0.7 และอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 63.81

6) สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 44.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 33.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวดีขึ้นของ การท่องเที่ยวในประเทศ และการขยายตัวในเกณฑ์สูงของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ โดยในไตรมาสนี้ รายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยรวม 1.55 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 85.5 เป็นผลมาจากการดาเนินมาตรการผ่อนคลายการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของภาครัฐ ความคืบหน้าในการกระจายวัคซีน และการดาเนินมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง ส่วนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยมีจานวน 1,582,257 คน เพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงจากฐานที่ต่าในปีก่อน โดยเป็นผลจากการผ่อนคลายมาตรการ เดินทางเข้าประเทศแก่นักท่องเที่ยวต่างชาติ การเปิดพรมแดนประเทศทุกช่องทาง ประกอบกับการผ่อนคลายมาตรการเดินทางออกนอกประเทศของหลายประเทศ อัตราเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 42.09 สูงกว่าร้อยละ 36.15 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 8.24 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารขยายตัวร้อยละ 39.3 โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศมีจานวน 2.08 ล้านคน และอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 39.12

7) สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 3.1 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวดีขึ้นของการใช้จ่ายภาคครัวเรือนและจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีรวม การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ โดยดัชนีการขายปลีก (ยกเว้น ยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.8 เทียบกับ การขยายตัวร้อยละ 10.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ อาทิ ร้านขายปลีกเครื่องประดับ ส่วนดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดการขายส่งสินค้าทั่วไป และดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 ตามการเพิ่มขึ้นของหมวดการขายยานยนต์ เป็นสาคัญ

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ขยายตัวร้อยละ 2.9

8) สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 5.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของบริการขนส่งทางอากาศและบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เป็นสาคัญ สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีบริการขนส่งร้อยละ 27.1 โดย (1) ดัชนีบริการขนส่งทางอากาศ ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 148.2 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 53.8 ในไตรมาสก่อนหน้า (2) ดัชนีบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง ขยายตัวร้อยละ 15.2 เร่งขึ้นการขยายตัวร้อยละ 5.8 ในไตรมาสก่อนหน้า และ (3) ดัชนีบริการขนส่งทางน้า เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.4 ส่วนบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.0 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวร้อยละ 4.0

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าขยายตัวร้อยละ 4.7

9) สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ ขยายตัวร้อยละ 1.4 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้าสอดคล้องกับการชะลอตัวลงของดัชนีการผลิตไฟฟ้า ก๊าซ และระบบปรับอากาศ โดยดัชนีการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.2 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของปริมาณการใช้ไฟฟ้าของภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ และการลดลงของปริมาณการใช้ไฟฟ้าของภาคครัวเรือน ส่วนดัชนีการผลิตโรงแยกก๊าซลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 10.2 ตามการลดลงของปริมาณการผลิตก๊าซปิโตรเลียมเหลว สอดคล้องกับการใช้ก๊าซในภาคอุตสาหกรรม ในขณะที่การใช้ก๊าซในภาคขนส่งปรับตัวเพิ่มขึ้น

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7

แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2565

เศรษฐกิจไทยในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.7 ? 3.2 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวดีขึ้นของการบริโภคภาคเอกชนและภาคการท่องเที่ยว รวมทั้งการส่งออกสินค้าที่ขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 การอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 4.4 และร้อยละ 3.1 ตามลาดับ ส่วนอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ในช่วงร้อยละ 6.3 ? 6.8 และดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลร้อยละ 1.6 ของ GDP

1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สองของปี 2565

ด้านการใช้จ่าย

การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน: ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 6.9 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.5 ในไตรมาส

ก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด -19

ซึ่งส่งผลให้พฤติกรรมการใช้จ่ายของประชาชนปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติมากขึ้น โดยการใช้จ่ายหมวดบริการ

ขยายตัวร้อยละ 13.7 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการ

ใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร และกลุ่มนันทนาการและวัฒนธรรมร้อยละ 56.9 และร้อยละ 6.8

ตามลาดับ และการใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 1.9 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.4 ในไตรมาส

ก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการใช้จ่ายหมวดเครื่องเรือนและเครื่องตกแต่ง และกลุ่มเสื้อผ้าและ

รองเท้าร้อยละ 1.0 และร้อยละ 2.4 ตามลาดับ ส่วนการใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 2.7 ชะลอลงจาก

การขยายตัวร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอลงของการใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้า และก๊าซฯ ที่ขยายตัวร้อยละ

0.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า และการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนขยายตัวร้อยละ 3.4

ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของการใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะที่

ขยายตัวร้อยละ 10.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 14.1 ในไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค

เกยี่ วกบั ภาวะเศรษฐกจิ โดยรวมในไตรมาสนลี้ ดลงมาอยทู่ รี่ ดบั 34.9 จากระดบั 37.3 ในไตรมาสกอ่ นหนา ตามความกงั วล

เกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของภาระค่าครองชีพท่ามกลางความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน

รวมครึ่งแรกของปี 2565 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 5.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.4

ในช่วงครึ่งหลังของปี 2564

การลงทุนภาคเอกชน: ขยายตัวร้อยละ 2.3 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.9 ในไตรมาสก่อนหน้า

ตามการชะลอตัวของการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ ที่ขยายตัวร้อยละ 3.3 ชะลอลงจากการขยายตัว

ร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการชะลอตัวลงของการนาเข้าสินค้าทุน ปริมาณการจาหน่าย

เครื่องจักรและอุปกรณ์ในประเทศ และยอดจดทะเบียนยานยนต์ใหม่ ซึ่งขยายตัวร้อยละ 1.3 ร้อยละ 1.0

และร้อยละ 5.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 1.4 ร้อยละ 8.1 และร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ

ขณะที่การลงทุนในหมวดการก่อสร้าง ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 1.3 แต่เป็นการปรับตัวดีขึ้นจาก

การลดลงร้อยละ 8.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยหมวดการก่อสร้างเอกชนอื่น ๆ ปรับตัวลดลงร้อยละ 40.9

ตามการลดลงของกิจกรรมการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีเหลืองและสายสีชมพูซึ่งอยู่ในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้าง

ก่อนที่จะเริ่มเปิดให้บริการบางส่วนในปีนี้ ส่วนการก่อสร้างหมวดไม่ใช่ที่อยู่อาศัยขยายตัวร้อยละ 19.7 เร่งขึ้นจาก

ร้อยละ 12.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และการก่อสร้างที่อยู่อาศัยกลับมาขยายตัวร้อยละ 4.6 เทียบกับการลดลง

ร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจในไตรมาสนี้ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ

49.3 จากระดับ 48.6 ในไตรมาสก่อนหน้า

รวมครึ่งแรกของปี 2565 การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 2.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.7 ในช่วง

ครึ่งหลังของปี 2564

Economic Outlook

การส่งออก: มูลค่าการส่งออกในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวในเกณฑ์ดีแต่เริ่มชะลอลงสอดคล้องกับ

การชะลอตัวของประเทศเศรษฐกิจหลักและเศรษฐกิจโลกในภาพรวม การส่งออกสินค้าในไตรมาสที่สองของ

ปี 2565 มีมูลค่า 74,523 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 9.7 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 14.4

ในไตรมาสก่อนหน้า ปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 ชะลอลงจากร้อยละ 10.1 ในไตรมาสก่อนหน้า

โดยปริมาณการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าเกษตรขยายตัวร้อยละ 4.7 และร้อยละ 13.2 ขณะที่ปริมาณ

การส่งออกสินค้าประมงลดลงร้อยละ 8.9 ราคาสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ

4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยราคาส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม เกษตร และประมงขยายตัวร้อยละ 5.4 ร้อยละ

2.7 และร้อยละ 3.5 ตามลาดับ เมื่อหักการส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกขยายตัวร้อยละ

9.9 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 9.6 ในไตรมาสก่อนหน้า การส่งออกในรูปของเงินบาท มีมูลค่า 2,565

พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 20.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 24.9 ในไตรมาสก่อนหน้า

รวมครึ่งแรกของปี 2565 การส่งออกสินค้าคิดเป็นมูลค่า 147,811 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 12.0

เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 19.2 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยปริมาณการส่งออก และราคาส่งออก

เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 และร้อยละ 4.6 ตามลาดับ การส่งออกในรูปของเงินบาทมีมูลค่า 4,988 พันล้านบาท

ขยายตัวร้อยละ 22.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 27.6 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา

มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรขยายตัวร้อยละ 16.2 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า

โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.2 ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการส่งออกข้าว ยางพารา ทุเรียน ผลไม้อื่น ๆ

และน้าตาล เป็นสาคัญ และราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกน้าตาล เป็นสาคัญ โดย

มูลค่าการส่งออกทุเรียน และผลไม้อื่น ๆ ขยายตัวร้อยละ 9.8 และร้อยละ 45.6 ตามลาดับ ข้าวเพิ่มขึ้นร้อยละ

46.6 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกไปยังประเทศอิรัก สหรัฐฯ และแอฟริกาใต้ เป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออก

เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 70.3 ขณะที่ราคาส่งออกลดลงร้อยละ 13.9 ยางพาราเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0

ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ เป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 3.6 ขณะที่ราคาส่งออกลดลงร้อยละ 0.5 น้าตาลขยายตัวร้อยละ 113.6 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกไป

ยังตลาดอินโดนีเซีย เกาหลีใต้ และกัมพูชา เป็นสาคัญ โดยปริมาณและราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 89.2 และร้อยละ

12.9 ตามลาดับ มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 10.3 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 10.7

ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 ชะลอลงจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 ในไตรมาสก่อน

หน้า และราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4 เร่งขึ้นจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า มูลค่าการส่งออก

สินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี (ร้อยละ 4.9) เครื่องจักรและอุปกรณ์ (ร้อยละ 7.0)

แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน (ร้อยละ 9.4) ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า (ร้อยละ 3.8) อุปกรณ์และเครื่องมือด้านการแพทย์

(ร้อยละ 8.0) และเครื่องใช้ในห้องน้าและเครื่องสาอาง (ร้อยละ 14.3) เป็นต้น ส่วนสินค้าส่งออกสาคัญที่มีมูลค่า

ส่งออกลดลง ได้แก่ รถยนต์นั่ง (ลดลงร้อยละ 48.3) รถกระบะฯ (ลดลงร้อยละ 9.6) คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ

18.0) และชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ลดลงร้อยละ 10.1) มูลค่าการส่งออกสินค้าประมงลดลงร้อยละ

5.7 โดยปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 8.9 ขณะที่ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออก

ลดลง ได้แก่ กุ้ง ปู กั้ง และล็อบสเตอร์ (ลดลงร้อยละ 11.9) และปลา (ลดลงร้อยละ 4.1) สินค้าส่งออกอื่น ๆ ขยายตัว

ร้อยละ 7.9

ตลาดส่งออก: การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักขยายตัวต่อเนื่อง ส่วนการส่งออกไปยังตลาดจีน ฮ่องกง และออสเตรเลียลดลง โดยการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 17.8 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ เครื่องโทรสาร โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดญี่ปุ่นขยายตัวร้อยละ 1.6 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกทองแดงและของทาด้วยทองแดง เครื่องโทรสาร โทรศัพท์ และส่วนประกอบ และเม็ดพลาสติก เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดสหภาพยุโรป (27) ขยายตัวร้อยละ 5.7 ตามการขยายตัวของการส่งออกเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดอาเซียน (5) ขยายตัว ร้อยละ 23.1 (ตามการขยายตัวของการส่งออกไปยังตลาดมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ เป็นสาคัญ) การส่งออกไปกลุ่มประเทศ CLMV ขยายตัวร้อยละ 14.1 (ตามการส่งออกไปยังประเทศเวียดนาม กัมพูชา และเมียนมา เป็นสาคัญ) และการส่งออกไปยังตะวันออกกลาง (15) ขยายตัวร้อยละ 29.0 ตามการขยายตัวของการส่งออกข้าว เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม การส่งออกไปยังตลาดจีนลดลงร้อยละ 1.9 ตามการลดลงของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ และยางพารา เป็นสาคัญ เช่นเดียวกับ การส่งออกไปยังตลาดออสเตรเลียลดลงร้อยละ 3.3 ตามการลดลงของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และอาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เป็นสาคัญ

การนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มีมูลค่า 69,353 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.4 เร่งขึ้นจาก

การขยายตัวร้อยละ 16.3 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับสาขาการผลิตอุตสาหกรรมบางสาขาที่ขยายตัว

อย่างต่อเนื่อง เช่น น้ามันปิโตรเลียม เครื่องปรับอากาศ และยานยนต์ เป็นต้น โดยปริมาณการนาเข้ารวม

เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการนาเข้า

ในหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง สินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภค ร้อยละ 8.4 ร้อยละ 3.3 และ

ร้อยละ 1.7 ตามลาดับ ส่วนราคานาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.9 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.2 ในไตรมาสก่อนหน้า

ตามการเพิ่มขึ้นของราคานาเข้าในหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง สินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าทุน

ร้อยละ 19.4 ร้อยละ 5.7 และร้อยละ 3.8 ตามลาดับ ทั้งนี้ หากไม่รวมการนาเข้าทองคา มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 20.7 ในรูปของเงินบาท การนาเข้าสินค้ามีมูลค่ารวม 2,387 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.4 เทียบกับ

การเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.0 ในไตรมาสก่อนหน้า

รวมครึ่งแรกของปี 2565 การนาเข้าสินค้าคิดเป็นมูลค่า 133,359 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.4

เทียบกับร้อยละ 27.3 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยปริมาณและราคานาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 และ

ร้อยละ 12.5 ตามลาดับ ส่วนการนาเข้าในรูปของเงินบาท มีมูลค่า 4,503 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.8

ในรายหมวด มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้นในทุกหมวดสินค้า โดยมูลค่าการนาเข้าหมวดวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง

เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.4 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ

8.4 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.4 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น น้ามันดิบ ชิ้นส่วน

อิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า และเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวด

สินค้าทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ

3.3 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น เครื่องจักรกลอื่น ๆ และชิ้นส่วน

หม้อแปลง เครื่องกาเนิดไฟฟ้า มอเตอร์และเครื่องเก็บประจุไฟฟ้า และอากาศยาน เรือ แท่นและรถไฟ เป็นต้น มูลค่า

การนาเข้าหมวดอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณ

การนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น อาหาร

เครื่องดื่มและผลิตภัณฑ์นม และยาและเวชภัณฑ์ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอื่น ๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.9

เทียบกับการลดลงร้อยละ 42.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการนาเข้าสินค้ากลุ่มทองคา (ไม่รวมทองรูปพรรณ)

ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 103.6

โอกาสทางการค้าและการเบี่ยงเบนทิศทางการค้าของไทยในประเทศคู่ค้าสาคัญ (สหรัฐฯ และจีน)

สหรัฐฯ และจีน ถือเป็นประเทศคู่ค้าที่สาคัญของไทย โดยในครึ่งแรกของปี 2565 การส่งออกสินค้าไปยังตลาดสหรัฐฯ และตลาดจีนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 16.1 และ

ร้อยละ 12.4 ของการส่งออกรวม ตามลาดับ โดยมูลค่าการส่งออกไปสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 20.5 ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดจีนขยายตัวเพียงร้อยละ 0.8 เนื่องจาก

ผลกระทบจากการดาเนินมาตรการล็อกดาวน์ที่เข้มงวด เมื่อพิจารณารายละเอียดข้อมูลกลุ่มสินค้าหลัก 15 กลุ่ม ที่มีการส่งออกไปยังตลาดหลักทั้งสองตลาด1 พบว่า

มีการเปลี่ยนแปลงทิศทางโครงสร้างทางการค้าของกลุ่มสินค้าสาคัญในตลาดหลักทั้งสองตลาด ดังนี้

1) กลุ่มสินค้าที่มีการเปลี่ยนทิศทางจากตลาดประเทศอื่นมายังตลาดสหรัฐฯ และจีนอย่างชัดเจน (กลุ่มที่มูลค่าการส่งออกขยายตัวและสัดส่วนการส่งออกมายัง

สหรัฐฯ และจีนเพิ่มขึ้น) ในตลาดสหรัฐฯ มี 9 กลุ่มสินค้า เช่น คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ โทรศัพท์และอุปกรณ์ และแอร์และส่วนประกอบ เป็นต้น และในตลาดจีนมี 5 กลุ่ม

สินค้า เช่น ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง ผลิตภัณฑ์ยาง และไม้และผลิตภัณฑ์ เป็นต้น แสดงให้เห็นความต้องการสินค้าและโอกาสในการส่งเสริมการส่งออกสินค้าไทยในตลาด

สหรัฐฯ และจีน ในระยะต่อไป

2) กลุ่มสินค้าที่มีการเติบโตทั้งในตลาดสหรัฐฯ จีน และตลาดอื่น แต่อัตราการเติบโตในตลาดอื่นมากกว่า (กลุ่มที่มูลค่าการส่งออกในตลาดสหรัฐฯ และจีนขยายตัว

แต่สัดส่วนการส่งออกมายังสหรัฐฯ และจีนลดลง) ในตลาดสหรัฐฯ มี 2 กลุ่มสินค้า ได้แก่ อัญมณี และเหล็กและผลิตภัณฑ์ ส่วนในตลาดจีนมี 5 กลุ่มสินค้า เช่น ทองแดง

ของทาด้วยทองแดง เครื่องจักรกล ส่วนประกอบ และแผงวงจรไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งการที่สินค้าในกลุ่มนี้มีอัตราการขยายตัวของการส่งออกไปตลาดอื่นสูงกว่าในตลาดสหรัฐฯ

และจีน หมายความว่า โอกาสของกลุ่มสินค้านี้มีทั้งในและนอกตลาดสหรัฐฯ และจีน แต่ไม่ใช่กลุ่มที่จะเปลี่ยนทิศทางมายังทั้งสองตลาดได้

3) กลุ่มสินค้าเริ่มต้องเฝ้าระวังในตลาดสหรัฐฯ และในตลาดจีน (กลุ่มที่มูลค่าการส่งออกสินค้าและสัดส่วนการส่งออกลดลง หรือส่งสัญญาณการเป็น Sunset Product)

ในตลาดสหรัฐฯ มี 3 กลุ่มสินค้า ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ยาง อุปกรณ์กึ่งตัวนา และรถยนต์ อุปกรณ์ ส่วนในตลาดจีนมี 5 กลุ่มสินค้า เช่น เคมีภัณฑ์ ยางพารา และเครื่องใช้ไฟฟ้า

ส่วนประกอบ เป็นต้น ซึ่งสินค้ากลุ่มนี้จาเป็นต้องได้รับการติดตามอย่างใกล้ชิด เพื่อไม่ให้สูญเสียความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะต่อไป

บทบาทของสินค้าจากกลุ่มประเทศ ASEAN6 ในตลาดสาคัญ ๆ ของโลก เปรียบเทียบก่อนและช่วงการระบาดของโควิด-19

ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 การนาเข้าสินค้าจาก ASEAN6 ในหลายตลาดขยายตัวในระดับที่สูงกว่าการนาเข้าจากประเทศอื่น ๆ นอกกลุ่ม ทั้งในตลาดสหรัฐฯ จีน

สหภาพยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ปุ่นและอินเดีย เป็นต้น มีเพียงตลาดออสเตรเลียที่มีการนาเข้าจาก ASEAN6 ลดลงขณะที่การนาเข้าจากที่อื่นขยายตัว เมื่อพิจารณารายตลาด

พบว่า การนาเข้าสินค้าจากเวียดนามมีอัตราการขยายตัวสูงสุดในช่วงการระบาด สะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญของสินค้าจากเวียดนามที่มีความสาคัญเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ในตลาดหลักของโลกในหลาย ๆ แห่ง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติที่ชี้ให้เห็นว่าสัดส่วนการตลาดของเวียดนามในช่วงของการแพร่ระบาดและหลังการแพร่

ระบาดเพิ่มขึ้นในทุกประเทศ ขณะที่สัดส่วนการส่งออกของไทยในช่วงระหว่างการแพร่ระบาดเพิ่มขึ้นในจีนและสหรัฐฯ แต่ลดลงในออสเตรเลียและสหภาพยุโรป ขณะที่

ภายหลังการแพร่ระบาดพบว่าสัดส่วนการตลาดของไทยเพิ่มขึ้นในสหรัฐฯ และอินเดีย แต่กลับลดลงในออสเตรเลียและสหภาพยุโรป นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาจากจานวน

กลุ่มสินค้าที่มีสัดส่วนการนาเข้าเพิ่มขึ้นเปรียบเทียบในหลาย ๆ ตลาด พบว่า กลุ่มสินค้าจากเวียดนามกลุ่มสินค้ามีสัดส่วนเพิ่มขึ้น เช่น ในตลาดสหรัฐฯ มี 17 กลุ่มสินค้า

นาเข้าจากเวียดนามที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ขณะมี 15 กลุ่มสินค้าจากไทยที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ในตลาดจีน มี 15 กลุ่มสินค้านาเข้าจากเวียดนามที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น ขณะที่มีเพียง

7 กลุ่มสินค้าจากไทยที่มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเท่านั้น ซึ่งนอกจากสินค้าจากเวียดนามแล้ว ยังพบว่า สินค้าจากมาเลเซียก็มีบทบาทมากกว่าสินค้าจากไทยในหลายตลาด

ทั้งในสหรัฐฯ จีน และ EU ซึ่งสังเกตเห็นได้จากสัดส่วนการนาเข้าที่เพิ่มขึ้นและจานวนกลุ่มสินค้าที่มีสัดส่วนการนาเข้าที่เพิ่มขึ้นของสินค้าจากมาเลเซียในตลาดดังกล่าว

(รายละเอียดการคานวณสามารถดูได้จาก QR Code ด้านล่าง)

จากข้อมูลข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ปี 2020 – 2021) การส่งออกสินค้าของไทยยังคงขยายตัว

อยู่ได้ แต่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคเดียวกันทั้งเวียดนามและมาเลเซียพบว่า ยังคงมีสัดส่วนที่ต่ากว่าในหลายตลาด ซึ่งแสดง

ให้เห็นถึงความสามารถในการแข่งขันทางการส่งออกที่ยังคงต่ากว่าเวียดนามและมาเลเซีย โดยทั้งสองประเทศมีจานวนการบรรลุ

ข้อตกลง Free Trade Agreement (FTA) ที่มากกว่าไทย (เวียดนาม มาเลเซีย และไทยมีจานวน FTA อยู่ที่ 15 ข้อตกลง 14 ข้อตกลง

และ 12 ข้อตกลง ตามลาดับ) อย่างไรก็ดี จาเป็นต้องให้ความสาคัญต่อปัจจัยสนับสนุนอีกหลายประการที่มีผลต่อความสามารถใน

การแข่งขันทางการค้าและตรงตามความต้องการของตลาด เช่น คุณภาพมาตรฐานของสินค้า ตลอดจนระดับเทคโนโลยีของสินค้า

ดังนั้น ในการพัฒนาขีดความสามารถทางการค้าระหว่างประเทศของไทยในระดับยุทธศาสตร์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรคานึงถึง

การเปรียบเทียบสถานะของการค้าของไทยและสถานะการค้าของประเทศคู่แข่งทางยุทธศาสตร์ทางการค้าในตลาดเดียวกันในระดับ

รายละเอียดของกลุ่มสินค้า (การจัดทา Benchmarking) เพื่อกาหนดยุทธศาสตร์ มาตรการ หรือแนวทางในการยกระดับขีดความสามารถใน

การแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรมและเหมาะสม

ตลาด

อัตราการข

ของราคาส่งออกร้อยละ 5.1 ส่งผลให้อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 100.8 ลดลงจากระดับ 109.2 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และระดับ 102.7 ในไตรมาสก่อนหน้า

รวมครึ่งแรกของปี 2565 อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 101.7 เทียบกับระดับ 106.8 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.5 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกร้อยละ 4.6

ดุลการค้าเกินดุล ในไตรมาสที่สองของปี 2565 ดุลการค้าเกินดุล 5.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุล 9.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า และการเกินดุล 11.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาทในไตรมาสที่สองของปี 2565 ดุลการค้าเกินดุล 178.4 พันล้านบาท ต่ากว่าการเกินดุล 306.6 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า และการเกินดุล 352.7 พันล้านบาท ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

รวมครึ่งแรกของปี 2565 ดุลการค้าเกินดุล 14.5 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการเกินดุล 19.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา และการเกินดุล 20.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาท ดุลการค้าเกินดุล 485.0 พันล้านบาท เทียบกับการเกินดุล 649.8 พันล้านบาท ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา

อัตราการค้าปรับตัวลดลง

ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ

ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้า

%YoY

2564

2565

ทั้งปี

H1

H2

Q1

Q2

Q3

Q4

H1

Q1

Q2

สินค้าอุปโภคบริโภค

14.8

15.6

14.0

8.3

24.0

12.6

15.2

3.1

4.6

1.7

วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง

16.1

11.1

21.1

-1.7

26.9

26.8

15.9

9.3

10.3

8.4

สินค้าทุน

16.2

14.7

17.6

2.1

30.3

24.0

11.8

4.7

6.0

3.3

ดัชนีปริมาณนาเข้ารวม

17.9

16.0

19.7

4.9

29.8

25.8

14.2

6.0

4.6

7.5

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

ดัชนีราคาสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ

ดัชนีราคาสินค้านาเข้า

%YoY

2564

2565

ทั้งปี

H1

H2

Q1

Q2

Q3

Q4

H1

Q1

Q2

สินค้าอุปโภคบริโภค

3.8

3.5

4.1

2.9

4.1

3.9

4.4

5.1

4.4

5.7

วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง

17.3

14.7

19.8

9.0

20.9

18.3

21.2

19.0

18.6

19.4

สินค้าทุน

1.9

1.6

2.2

1.5

1.7

1.8

2.7

3.6

3.3

3.8

ดัชนีราคานาเข้ารวม

5.2

3.9

6.4

1.4

6.6

4.9

7.9

12.5

11.2

13.9

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

ดุลการค้าเกินดุล 5.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุลในไตรมาสก่อนหน้าและไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

ด้านการผลิต

อัตราการค้า

%YoY

2564

2565

ทั้งปี

H1

H2

Q1

Q2

Q3

Q4

H1

Q1

Q2

อัตราการค้า*

108.1

109.5

106.8

109.9

109.2

107.9

105.8

101.7

102.7

100.8

%YOY

-1.8

-0.8

-2.8

0.7

-2.4

-1.7

-3.8

-7.1

-6.5

-7.7

หมายเหตุ : * อัตราการค้า (Terms of Trade : TOT) คือ ราคาสินค้าส่งออกเทียบกับราคาสินค้านาเข้าของแต่ละประเทศ หาก TOT ปรับดีขึ้น หมายถึงประเทศนั้น ๆ ได้ประโยชน์มากขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากสินค้าที่ส่งออกได้ราคาสูงขึ้นเทียบกับราคาที่นาเข้าที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 4.4 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย และปริมาณน้าเพียงพอต่อการเพาะปลูก โดยดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.7 ผลผลิตสินค้าเกษตรที่ขยายตัว ได้แก่ (1) ข้าวเปลือก เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.6 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย ประกอบกับปริมาณน้าฝนมากกว่าปีที่ผ่าน (2) กลุ่มไม้ผล เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.9 โดยเฉพาะทุเรียน เพิ่มขึ้นร้อยละ 30.9 เนื่องจากราคาในช่วงที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรมี การบารุงและดูแลรักษาผลผลิตดีขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ปรับตัวเพิ่มขึ้น (3) อ้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 ตามปริมาณผลผลิตต่อไร่ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากสภาพอากาศเอื้ออานวย (4) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7 ตามปริมาณผลผลิตต่อไร่ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาในช่วงที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรมีการดูแลรักษาผลผลิตมากขึ้น และ (5) ไก่เนื้อ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 ตามปริมาณความต้องการบริโภคไก่เนื้อที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัวลดลง ได้แก่ สุกร (ลดลงร้อยละ 9.0) ปาล์มน้ามัน (ลดลงร้อยละ 8.9) มันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 9.6) กุ้งขาวแวนนาไม (ลดลงร้อยละ 10.0) และยางพารา (ลดลงร้อยละ 0.7) เป็นต้น ส่วนดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ เช่น (1) สุกร เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.9 เนื่องจากปริมาณผลผลิตสุกรที่ปรับตัวลดลง ประกอบกับความต้องการบริโภคเนื้อสุกรจากตลาดในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้น (2) ปาล์มน้ามัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 85.1 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันปาล์มในตลาดโลก ประกอบกับปริมาณความต้องการใช้น้ามันปาล์มจากทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้น (3) ไก่เนื้อ เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.9 เนื่องจากต้นทุนการผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น ประกอบกับปริมาณความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นจากทั้งตลาดต่างประเทศและตลาดในประเทศ (4) อ้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.4 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของราคา และ (5) ยางพารา เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.4 เนื่องจากความต้องการใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมถุงมือยางยังมีอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับสถานการณ์ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัวลดลง เช่น กลุ่มไม้ผล (ลดลงร้อยละ 23.4)

เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของทั้งดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกร

โดยรวมขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 16.3

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 เทียบกับการเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 0.5 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.8 ดัชนีราคาสินค้า

เกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 และดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.2

สาขาเกษตรกรรม

ขยายตัวร้อยละ 4.4

โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก

สภาพอากาศและ

ปริมาณน้าที่เอื้ออานวย

และการเพิ่มขึ้นของราคา

สินค้าเกษตรหลาย

รายการ ส่งผลให้ดัชนี

รายได้เกษตรกรโดยรวม

ขยายตัวขยายตัวต่อเนื่อง

เป็นไตรมาสที่ 2

-20

-10

10

20

Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2

61 62 63 64 65

(%YoY)

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาสินค้าเกษตร ดัชนีรายได้เกษตรกร

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.3

ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและราคาสินค้าเกษตร

ราคาข้าวเปลือก อ้อย มันสาปะหลัง ยางพารา

และปาล์มน้ามัน ปรับตัวเพิ่มขึ้น

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

-50

50

100

150

Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2

61 62 63 64 65

(%YoY) ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ยางแผ่นดิบชั้น 3

ปาล์มน้ามัน อ้อย

สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม: ลดลงร้อยละ 0.5 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า

ตามการลดลงของทุกกลุ่มการผลิต ซึ่งส่วนหนึ่งได้รับผลกระทบจากปัญหาข้อจากัดในห่วงโซ่การผลิตและ

การค้าโลก สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 0.7 โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่ม

การผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.0

ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ การผลิต

คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 29.6 ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก

การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และการผลิตเฟอร์นิเจอร์ลดลงร้อยละ 20.2 โดยเฉพาะการส่งออกไปสหรัฐฯ

ซึ่งเป็นตลาดส่งออกสาคัญปรับตัวลดลง จากความต้องการที่ขยายตัวในปีก่อนที่มีความต้องการเฟอร์นิเจอร์

เพื่อให้สอดรับกับการทางานที่บ้าน เป็นต้น ในขณะที่การผลิตยางอื่น ๆ ขยายตัวร้อยละ 12.2 โดยเฉพาะยางแท่ง

และยางแผ่นที่มีผลผลิตในระดับสูงเนื่องจากในไตรมาสนี้ปริมาณน้าฝนอยู่ในเกณฑ์ดีทาให้ผลผลิตน้ายาง

มีปริมาณสูง ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30)

ลดลงร้อยละ 0.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง

เช่น การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้นลดลงร้อยละ 11.6 เนื่องจากมีบางโรงงานปิดปรับปรุงเครื่องจักร

และการผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐานซึ่งลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 10.6 เป็นผลมาจา ก

การขาดแคลนวัตถุดิบ (เหล็ก) เนื่องจากประเทศสาคัญ อาทิ จีน อินเดีย และญี่ปุ่น ปรับลดการผลิตเหล็กขั้นต้นลง

อย่างไรก็ตาม การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 14.6 เพื่อให้เพียงพอต่อ

ความต้องการภายในประเทศที่มีมากขึ้นตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เริ่มกลับมาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดัชนี

ผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 ? 60 ลดลงร้อยละ 0.1 เทียบกับการขยายตัว

ร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกลดลงร้อยละ 6.7 เป็นผลมาจากโรงงานขนาดใหญ่

บางโรงงานหยุดซ่อมบารุงเครื่องจักรและการผลิตจักรยานยนต์ลดลงร้อยละ 12.6 เป็นผลมาจากคาสั่งซื้อจาก

ประเทศคู่ค้าปรับตัวลดลงโดยเฉพาะจีนและเบลเยียม ส่วนการผลิตสาคัญที่เพิ่มขึ้นคือ การผลิตยานยนต์

ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการประสบ

ปัญหาการขาดแคลนชิ้นส่วนรถยนต์ที่สาคัญ (ชิปและเซมิคอนดักเตอร์) ในบางรุ่น สาหรับอัตราการใช้กาลัง

การผลิตเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 61.08 ต่ากว่าร้อยละ 66.53 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ

62.65 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในอุตสาหกรรมสาคัญที่มีการใช้กาลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 80

จานวน 5 อุตสาหกรรม ได้แก่ การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ร้อยละ 86.48) การผลิตผลิตภัณฑ์

ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 86.36) การผลิตน้ามันพืช (ยกเว้นน้ามันปาล์ม) (ร้อยละ 86.15) การผลิต

ชิ้นส่วนและอุปกรณ์เสริมสาหรับยานยนต์ (ร้อยละ 81.19) และการผลิตเยื่อกระดาษ กระดาษ และกระดาษแข็ง

(ร้อยละ 80.26) ตามลาดับ

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ลดลงร้อยละ 29.6)

การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น (ลดลงร้อยละ 11.6) การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ลดลงร้อยละ

10.6) การผลิตเฟอร์นิเจอร์ (ลดลงร้อยละ 20.2) และการผลิตเครื่องใช้ในครัวเรือน (ลดลงร้อยละ 14.5) เป็นต้น

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ

14.6) การผลิตยานยนต์ (ร้อยละ 1.6) การผลิตผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ (ร้อยละ 12.2) การผลิตชิ้นส่วนและ

แผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 5.2) และการผลิตเครื่องประดับเพชรพลอยแท้และสิ่งของที่เกี่ยวข้อง (ร้อยละ

16.9) เป็นต้น

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาการผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.6 ในช่วง

ครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่

ร้อยละ 63.81

สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร: ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 44.9 และเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า

ตามการเร่งขึ้นของการท่องเที่ยวในประเทศ และการขยายตัวในเกณฑ์สูงของจานวนนักท่องเที่ยว

ต่างประเทศ โดยในไตรมาสนี้ รายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยมีจานวน 0.155 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง

เป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 85.5 เป็นผลมาจากการดาเนินมาตรการผ่อนคลายการควบคุมการแพร่ระบาดของ

โรคโควิด-19 ของภาครัฐ ควบคู่กับการดาเนินนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจภาคการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง อาทิ

การขยายโครงการเราเที่ยวด้วยกันระยะที่สี่ ประกอบกับการกระจายวัคซีนอย่างทั่วถึงและครอบคลุมใน

ทุกจังหวัด ส่งผลให้ประชาชนมีความมั่นใจในการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศมากขึ้น สาหรับจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือน

คนไทยมากที่สุด3 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) ได้แก่ ชลบุรี จานวน 2.95 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 7.16)

กาญจนบุรี จานวน 2.78 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 6.75) และประจวบคีรีขันธ์ จานวน 2.26 ล้านคน (สัดส่วน

ร้อยละ 5.48) โดยเพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงจากฐานในปีก่อน ส่วนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว

ในประเทศไทยมีจานวน 1,582,257 คน เพิ่มขึ้นในเกณฑ์สูงจากฐานที่ต่า โดยเป็นผลมาจากการยกเลิกระบบ

การเดินทางเข้าประเทศแบบไม่กักตัวและไม่จากัดพื้นที่ (Test & Go) และนโยบายการเปิดพรมแดนประเทศ

ทุกช่องทาง (บก น้า และอากาศ) เป็นสาคัญ ประกอบกับการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของ

โรคโควิด-19 ความก้าวหน้าในการกระจายวัคซีนอย่างทั่วถึงในทุกภูมิภาคของโลก และการผ่อนคลายมาตรการเดินทาง

ออกนอกประเทศของหลายประเทศทั่วโลก โดยนักท่องเที่ยวสาคัญที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรในไตรมาสนี้

ได้แก่ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก 718,845 คน (สัดส่วนร้อยละ 45.43) ภูมิภาคยุโรป 334,850

คน (สัดส่วนร้อยละ 21.16) และภูมิภาคเอเชียใต้ 252,402 คน (สัดส่วนร้อยละ 15.95) สาหรับอัตราเข้าพัก

เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 42.09 สูงกว่าร้อยละ 36.15 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 8.24 ในไตรมาส

เดียวกันของปีก่อน

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารขยายตัวร้อยละ 39.3 ปรับตัวดีขึ้นจาก

การลดลงร้อยละ 11.3 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา และปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 17.5 ในช่วง

เดียวกันของปีก่อน โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศมีจานวน 2.080 ล้านคน ปรับตัวดีขึ้นจากจานวน

0.387 ล้านคน ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา และปรับตัวดีขึ้นจากจานวน 0.040 ล้านคน ในช่วงเดียวกันของปีก่อน

สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 39.12

สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5

ร้อยละ 3.1 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวดีขึ้นของการใช้จ่าย

ภาคครัวเรือนและจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ เนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่

ระบาดของโรคโควิด-19 สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์

และจักรยานยนต์ โดย (1) ดัชนีการขายปลีก (ยกเว้น ยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.8 เทียบกับ

การขยายตัวร้อยละ 10.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ อาทิ ร้านขาย

ปลีกเครื่องประดับ (2) ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 เทียบกับ

การขยายตัวร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดการขายส่งสินค้าทั่วไป และ (3) ดัชนีการขายส่ง

การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 ตามการเพิ่มขึ้นของหมวดการขายยานยนต์

เป็นสาคัญ ทั้งปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลและรถยนต์เพื่อการพาณิชย์

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ

2.9 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.9 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยดัชนีการขายส่งและการขายปลีก

การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.1 ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์)

เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 และดัชนีการขายปลีก (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.2

สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 5.3 เร่งขึ้นจากการขยายตัว

ร้อยละ 4.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของบริการขนส่งทางอากาศและบริการขนส่งทางบก

และท่อลาเลียง เป็นสาคัญ สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีบริการขนส่งร้อยละ 27.1 เร่งขึ้นจากการขยายตัว

ร้อยละ 10.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ประกอบด้วย (1) ดัชนีบริการขนส่งทางอากาศ ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ

148.2 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 53.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการขนส่ง

ผู้โดยสารทางอากาศที่ขยายตัวต่อเนื่อง และเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่ปริมาณการขนส่งสินค้าทาง อากาศเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้า (2) ดัชนีบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง ขยายตัวร้อยละ 15.2 เร่งขึ้นการขยายตัวร้อยละ 5.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้น้ามันดีเซล ปริมาณผู้โดยสารรถไฟฟ้า ปริมาณการใช้น้ามันเบนซิน ปริมาณการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ปริมาณผู้ใช้บริการรถสาธารณะ จานวนรถบรรทุกจดทะเบียน และปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ และ (3) ดัชนีบริการขนส่งทางน้า เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 1.4 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการชะลอตัวลงของปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางน้าของไทย สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 6.0 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 4.0 สอดคล้องกับการขยายตัวของรายรับผู้ประกอบการ

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าขยายร้อยละ 4.7 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.0 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยดัชนีบริการขนส่งขยายตัวร้อยละ 15.5 ประกอบด้วยดัชนีบริการขนส่งทางอากาศขยายตัวร้อยละ 88.6 ดัชนีบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียงขยายตัวร้อยละ 7.5 และดัชนีบริการขนส่งทางน้าขยายตัวร้อยละ 1.7 ตามลาดับ ส่วนบริการสนับสนุนการขนส่งขยายตัวร้อยละ 7.0 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวร้อยละ 3.2

สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 1.4 แต่ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการชะลอตัวลงของดัชนีการผลิตไฟฟ้า ก๊าซ และระบบปรับอากาศ โดย (1) ดัชนีการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของปริมาณการใช้ไฟฟ้าของภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ และเป็นการลดลงครั้งแรกในรอบ 4 ไตรมาสของภาคครัวเรือน ส่วน (2) ดัชนีการผลิตโรงแยกก๊าซลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 10.2 ตามการลดลงของปริมาณการผลิตก๊าซปิโตรเลียมเหลว โดยเป็นการลดลงของทุกประเภท สอดคล้องกับการใช้ก๊าซในภาคอุตสาหกรรม ในขณะที่การใช้ก๊าซในภาคขนส่งปรับตัวเพิ่มขึ้น

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 เทียบกับ การลดลงร้อยละ 0.3 ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา โดยดัชนีการผลิตไฟฟ้าขยายตัวร้อยละ 3.2 และดัชนี การผลิตโรงแยกก๊าซลดลงร้อยละ 6.9

สาขาการก่อสร้าง: ลดลงร้อยละ 4.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของทั้งการก่อสร้างภาครัฐและการก่อสร้างภาคเอกชน โดยการก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 6.6 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.9 ในไตรมาสก่อนหน้า (การก่อสร้างของรัฐบาลลดลงร้อยละ 12.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อนหน้า) และการก่อสร้างภาคเอกชนลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 1.3 ตามการลดลงของการก่อสร้างอื่น ๆ โดยเฉพาะการก่อสร้างรถไฟฟ้า เป็นสาคัญ ในขณะที่การก่อสร้างที่อยู่อาศัยกลับมาขยายตัว และการก่อสร้างอาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัยขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 สาหรับดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 7 ร้อยละ 6.9 ตามการเพิ่มของดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก (เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.7) หมวดซีเมนต์ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.4) และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.8) เป็นสาคัญ

รวมครึ่งแรกของปี 2565 สาขาก่อสร้างลดลงร้อยละ 5.0 เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.8 ในช่วงครึ่งหลังของ ปีที่ผ่านมา โดยการก่อสร้างภาครัฐลดลงร้อยละ 5.3 ส่วนการก่อสร้างภาคเอกชนลดลงร้อยละ 4.5

ผู้มีงานทา: จานวนผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ตามการเพิ่มขึ้นของผู้มีงานทานอกภาคเกษตร ในขณะที่ภาคเกษตรลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส ส่วนอัตราการว่างงานลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าและต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสที่สองของปี 2565 จานวนผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผู้มีงานทานอกภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 70.12) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 4.9 ตามการเพิ่มขึ้นผู้มีงานทาในสาขาการขายส่งขายปลีกและการซ่อมยานยนต์ฯ และสาขาอุตสาหกรรม เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม จานวนผู้มีงานทาในสาขาก่อสร้างและสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 5.4 และ 2.6 ตามลาดับ ในขณะที่ผู้มีงานทาภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 29.88) ลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส ร้อยละ 0.8 สอดคล้องกับการลดลงของผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการ เช่น สุกร ปาล์มน้ามัน และมันสาปะหลัง เป็นต้น สาหรับอัตราการว่างงานในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 1.37 ต่ากว่าร้อยละ 1.53 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 1.89 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 5.5 แสนคน ต่ากว่าผู้ว่างงานจานวน 6.1 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าผู้ว่างงานจานวน 7.3 แสนคน ในช่วงเดียวกันในปีก่อน

เฉลี่ยครึ่งแรกของปี 2565 ผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.8 ในช่วงครึ่งหลังของ ปีผ่านมา โดยอัตราการว่างงานเฉลี่ยครึ่งปีแรกอยู่ที่ร้อยละ 1.45 โดยสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 ต่ากว่าจากไตรมาสก่อนหน้า และต่า

กว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสที่สองของปี 2565 ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมรวมเพิ่มขึ้น

ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 44.7 ประกอบด้วย ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 40) เพิ่มขึ้นร้อยละ

199.4 (ส่วนหนึ่งเกิดจากแรงจูงใจให้แรงงานเข้าสู่ระบบมากขึ้นจากมาตรการบรรเทาผลกระทบต่อประชาชน

กลุ่มแรงงานและผู้ประกอบการอันเนื่องมาจากข้อกาหนดตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบริหาร

ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ฉบับที่ 27 ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2564) ผู้ประกันตน

ตามความสมัครใจ (มาตรา 39) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 และผู้ประกันตนภาคบังคับตามมาตรา 33 เพิ่มขึ้นร้อยละ

1.9 เร่งขึ้นจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 ในไตรมาสก่อนหน้า สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงาน

ต่อผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 2.2 ต่ากว่าร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่า

ร้อยละ 2.8 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 เฉลี่ย

จานวน 2.45 แสนคน ต่ากว่าจานวน 3.06 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าจานวน 3.08 แสนคน

ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

0.0

0.6

1.2

1.8

2.4

36.0

36.4

36.8

37.2

37.6

38.0

38.4

38.8

39.2

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2

61 62 63 64 65

การจ้างงาน อัตราการว่างงาน (แกนขวา)

(ล้านคน) (%)

ผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 ตามการเพิ่มขึ้นของภาคนอกเกษตร

อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 1.37

ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)

การจ้างงานจาแนกตามสาขาการผลิต

%YOY สัดส่วน

Q2/65

2564 2565

ทั้งปี H1 H2 Q1 Q2 Q3 Q4 H1 Q1 Q2

ผู้มีงานทารวม 100.00 0.2 1.2 -0.8 0.4 2.0 -0.6 -1.0 3.1 3.0 3.1

– ภาคเกษตร 29.88 1.8 2.6 1.1 2.8 2.4 1.0 1.3 1.0 3.0 -0.8

– นอกภาคเกษตร 70.12 -0.6 0.6 -1.7 -0.6 1.8 -1.3 -2.1 4.0 3.1 4.9

อุตสาหกรรม 15.97 -0.9 -2.2 0.4 -2.2 -2.2 2.1 -1.2 4.3 2.6 6.1

ก่อสร้าง 5.61 -1.1 4.8 -7.1 4.5 5.1 -7.3 -6.9 -3.2 -1.1 -5.4

สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ฯ 17.56 -0.4 -1.2 0.5 -1.0 -1.4 0.2 0.7 8.9 5.8 12.1

ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 7.34 -3.1 2.6 -8.6 -0.1 5.4 -9.3 -7.9 -1.9 -1.1 -2.6

กาลังแรงงานรวม (ล้านคน) 38.7 38.8 38.6 38.7 38.8 38.6 38.6 39.7 39.6 39.8

จานวนผู้มีงานทา (ล้านคน) 37.8 37.7 37.8 37.6 37.8 37.7 37.9 38.9 38.7 39.0

จานวนผู้ว่างงาน (ล้านคน) 0.75 0.75 0.75 0.76 0.73 0.87 0.63 0.58 0.61 0.55

อัตราการว่างงาน (%) 1.93 1.93 1.95 1.96 1.89 2.25 1.64 1.45 1.53 1.37

ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.)

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

10

11

12

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2

61 62 63 64 65

จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ สัดส่วนผู้ใช้บริการ กรณีว่างงาน (แกนขวา)

จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ 11.3 ล้านคน

และสัดส่วนผู้ใช้บริการกรณีว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 2.2

ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน

(ล้านคน) (%)

จานวนผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) และผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33

จานวน (พันคน) 2564 2565

ทั้งปี H1 H2 Q1 Q2 Q3 Q4 H1 Q1 Q2

ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33)1/ 11,137 11,098 11,137 11,091 11,098 11,037 11,137 11,313 11,234 11,313

ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.39)2/ 1,939 1,897 1,939 1,850 1,897 1,956 1,939 1,902 1,920 1,902

ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.40)3/ 10,665 3,612 10,665 3,576 3,612 10,449 10,665 10,812 10,767 10,812

รวมผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) 23,741 16,607 23,741 16,516 16,607 23,442 23,741 24,027 23,920 24,027

ผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 253 308 253 346 308 273 253 245 306 245

สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 (ร้อยละ) 2.3 2.8 2.3 3.1 2.8 2.5 2.3 2.2 2.7 2.2

ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน

หมายเหตุ: 1/ ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33) คือ พนักงานบริษัทเอกชนทั่วไป ซึ่งมีสถานะเป็นลูกจ้างที่ทางานอยู่ในสถานประกอบการที่มีพนักงานตั้งแต่

1 คนขึ้นไป อายุไม่ต่ากว่า 15 ปี และไม่เกิน 60 ปี 2/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.39) คือ บุคคลที่เคยทางานอยู่ในบริษัทเอกชนในมาตรา 33 มาก่อนแล้วลาออกแต่ต้องการรักษาสิทธิ

ประกันสังคมไว้ จึงสมัครเข้าใช้สิทธิประกันสังคมในมาตรา 39 แทน 3/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.40) คือ ผู้ประกันตนในมาตรา 40 นี้ คือ บุคคลที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างในบริษัทเอกชนตามมาตรา 33 และไม่เคย

สมัครเป็นผู้ประกันตนในมาตรา 39 ผู้ที่จะสมัครประกันสังคมในมาตรา 40 ได้นั้น ต้องเป็นผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระหรือแรงงานนอกระบบ

มีอายุไม่ต่ากว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 60 ปี Economic Outlook

ผลกระทบจากการขาดแคลนอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์ต่ออุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ของไทย

ปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานของโลก (Supply chain disruption) ยังคงมีความยืดเยื้อ และส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตและ

การส่งออกในหลายประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ เนื่องจากประเทศผู้ส่งออกอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์1 รายใหญ่ 5

อันดับแรกของโลก ได้แก่ จีน (สัดส่วนร้อยละ 35.00) ญี่ปุ่น (สัดส่วนร้อยละ 9.35) มาเลเซีย (สัดส่วนร้อยละ 8.47) เยอรมัน (สัดส่วนร้อยละ

6.13) และไต้หวัน (สัดส่วนร้อยละ 5.35) ประสบปัญหาที่สาคัญ ได้แก่ (1) การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่และภัยธรรมชาติภายในประเทศ

(2) การขาดแคลนวัตถุดิบสาคัญ ได้แก่ ก๊าซนีออน (Neon: Ne) ซึ่งประเทศยูเครนเป็นผู้ผลิตและส่งออกอันดับ 1 ของโลก (สัดส่วนร้อยละ 71.50

ของโลก) เป็นก๊าซที่นาไปใช้ในการแกะแบบแผงวงจรสาหรับผลิตเป็นแผ่นซิลิคอนเวเฟอร์ (Silicon wafer) ที่ไต้หวันเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก

และเป็นชิ้นส่วนต้นน้าส่งไปผลิตอุปกรณ์เซมิคอนดักซ์เตอร์ในประเทศต่าง ๆ (3) ระยะเวลาในการผลิตและส่งมอบ (Lead Time) เซมิคอนดักเตอร์

จากประเทศผู้ผลิตและส่งออกยาวนานขึ้นกว่าเดิมจาก 12 สัปดาห์ (ไตรมาสที่สี่ของปี 2563) เป็น 27 สัปดาห์ (ไตรมาสที่สองของปี 2565)

และ (4) ต้นทุนการผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ต้นทุนการขนส่ง อาทิ ค่าระวางเรือ (Ocean freight charge) เนื่องจากราคาพลังงานและ

ความต้องการใช้ตู้คอนเทนเนอร์ปรับตัวเพิ่มขึ้น และต้นทุนวัตถุดิบ อาทิ ทองแดงและซิลิคอน ในขณะเดียวกัน มีความต้องการใช้เซมิคอนดักเตอร์

เพิ่มขึ้นในหลายประเทศผู้ส่งออกสินค้าเนื่องจากเป็นชิ้นส่วนสาคัญในการผลิตสินค้าที่สาคัญ อาทิ กลุ่มประมวลผลข้อมูล (สัดส่วนร้อยละ

32.29 ของความต้องการใช้เซมิคอนดักเตอร์โลก) กลุ่มสื่อสาร (สัดส่วนร้อยละ 31.24) กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน (สัดส่วนร้อยละ 12.03)

กลุ่มอุตสาหกรรม (สัดส่วนร้อยละ 12.01) กลุ่มยานยนต์ (สัดส่วนร้อยละ 11.38) และกลุ่มราชการ (สัดส่วนร้อยละ 1.04)

สาหรับประเทศไทยการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมปลายน้าที่เกี่ยวเนื่อง โดยเฉพาะอุตสาหกรรม

การผลิตยานยนต์ (สัดส่วนร้อยละ 13.20 ของอุตสาหกรรมการผลิตรวม) เนื่องจากชิ้นส่วนเซมิคอนดักเตอร์ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญสาหรับ

การผลิตยานยนต์ เช่น ระบบเครื่องยนต์และกาลังส่งน้ามันเชื้อเพลิง ระบบกล้องช่วยจอด และระบบแผงหน้าปัดดิจิทัล เป็นต้น ทาให้ส่งผล

กระทบต่อการผลิตรถยนต์นั่งส่วนบุคคล (สัดส่วนร้อยละ 30.57 ของปริมาณการผลิตยานยนต์รวม) ซึ่งขนาดเครื่องยนต์ 1,500 ? 2,500 ซีซี

(สัดส่วนร้อยละ 23.69 ของปริมาณการผลิตยานยนต์นั่งส่วนบุคคล) มากที่สุด โดยพบว่า ในไตรมาสที่สองของปี 2565 มีปริมาณการผลิต

26,860 คัน ลดลงร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และลดลงร้อยละ 44.5 เมื่อเทียบกับปริมาณการผลิตเฉลี่ยในช่วงก่อน

การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ค่าเฉลี่ยรายไตรมาสของปี 2560 – 2562) ซึ่งอยู่ที่ 48,398 คัน โดยรวมครึ่งปีแรกของปี 2565 มีปริมาณการผลิต

53,184 คัน ลดลงร้อยละ 13.2 เมื่อเทียบกับ 61,246 คันในช่วงเดียวกันของปีก่อน จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น จึงทาให้คาดว่าแนวโน้ม

ปริมาณการผลิตยานยนต์รวมของไทยในปี 2565 อาจไม่เป็นไปตามเป้าหมายเดิมที่คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณ 1.80 ล้านคัน ซึ่งหากปัญหา

ดังกล่าวมีความยืดเยื้อจะส่งผลให้ไทยอาจต้องสูญเสียโอกาสในการผลิตเพื่อส่งออกยานยนต์เพื่อตอบสนองต่อความต้องการในตลาดโลก

ที่กาลังฟื้นตัวภายหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 คลี่คลายลง

เซมิคอนดักเตอร์ 75%

การผ่าตัดตาด้วยเลเซอร์ 10%

LCD 6%

การถ่ายภาพ 5%

อื่น ๆ 4%

สัดส่วนการใช้ก๊าซนีออนในตลาดโลก ปี 2564

26,860

-2.7

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

30,000

35,000

40,000

45,000

50,000

-100.0

-50.0

0.0

50.0

100.0

150.0

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2

2563 2564 2565

การผลิตรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ขนาด 1,501 2,500 ซีซี

ปริมาณ (คัน) YoY(%)

ค่าเฉลี่ย ปี 60 62 อยู่ที่ 48,398 คัน

กลุ่มประมวลผลข้อมูล

32.29%

กลุ่มสื่อสาร 31.24%

กลุ่มอุตสาหกรรม

12.03%

กลุ่มยายนต์ 12.01%

กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าใน

ครัวเรือน 11.38%

กลุ่มราชการ 1.04%

สัดส่วนการใช้เซมิคอนดักเตอร์ในตลาดโลก ปี 2564

ที่มา : Semiconductor Industry Association ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ที่มา : www.oec.world/en/profile/hs/semiconductor-devices ที่มา : www.expertmarketresearch.com

200

400

600

2563 2564 2565F 2566F 2567F 2568F

มูลค่าและสัดส่วนการใช้เซมิคอนดักเตอร์ ปี 2562 2568

กลุ่มประมวลผลข้อมูล กลุ่มสื่อสาร กลุ่มอุตสาหกรรม

กลุ่มยายนต์ กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน

471 506 440

ที่มา : Mordor Intelligence

ล้านเหรียญ $

584 630 543

7.5%

ระยะเวลาในการผลิตและส่งมอบเซมิคอนดักเตอร์

ที่มา : Susquehanna Financial Group

30 สัปดาห์

2560 2561 2562 2563 2564 2565

หมายเหตุ: 1 พิกัดศุลกากร 8541 อุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์ เช่น ฮาไดโอด, ทรานซิสเตอร์, อุปกรณ์ที่คล้ายเซมิคอนดักเตอร์ รวมไปถึง เซลล์โฟโตโวลตาอิก,

ไดโอดเปล่งแสง, เพียโซอิเล็กทริค เป็นต้น

Economic Outlook

สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวของเมืองท่องเที่ยวหลักและเมืองท่องเที่ยวรอง

ในไตรมาสที่สองของปี 2565 พบว่า มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยจานวน 48.23 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 399.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

สร้างรายรับจากนักท่องเที่ยวไทยมูลค่า 1.55 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 85.5 สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 42.09 สูงกว่าร้อยละ

39.69 ในไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 8.24 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน แต่ยังคงต่ากว่าร้อยละ 70.03 ซึ่งเป็นระดับในช่วงก่อนการแพร่ระบาด

ของโรคโควิด-19 (ค่าเฉลี่ยของปี 2560 – 2562)

หากพิจารณาจาแนกตามเมืองท่องเที่ยว โดยแบ่งเป็น (1) เมืองท่องเที่ยวหลัก (จานวน 22 จังหวัด) มีผู้เยี่ยมเยือนจานวน 28.34 ล้านคน

(สัดส่วนร้อยละ 58.76) สร้างรายรับมูลค่า 1.11 แสนล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ 71.82) มีจานวนห้องพัก 591,903 ห้อง (สัดส่วนร้อยละ 73.45)

คิดเป็นอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ 41.23 ยังต่ากว่าร้อยละ 74.56 ในช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ค่อนข้างมาก (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ

55.30 ของช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19) แม้ว่าจะมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาสที่สี่ของปี 2564 จนถึงปัจจุบัน และ

(2) เมืองท่องเที่ยวรอง (จานวน 55 จังหวัด) มีผู้เยี่ยมเยือนจานวน 19.89 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 41.24) สร้างรายรับมูลค่า 0.43 แสนล้านบาท

(สัดส่วนร้อยละ 28.18) มีจานวนห้องพัก 213,919 ห้อง (สัดส่วนร้อยละ 26.55) คิดเป็นอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 44.52 เริ่มสูงขึ้นใกล้เคียง

กับร้อยละ 59.01 ในช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 75.44 ของช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19)

สะท้อนถึงแนวโน้มการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวในเมืองรองที่มากขึ้น ดังนั้นในระยะต่อไปภาครัฐและผู้ประกอบการเอกชนในภาคการท่องเที่ยว

จึงควรมุ่งเน้นการพัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนเพื่อเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด (ประกอบด้วยเมืองท่องเที่ยวหลักและ

เมืองท่องเที่ยวรองที่ใกล้เคียงกัน) ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ผ่านเส้นทางการท่องเที่ยวที่มีอยู่ รวมทั้งการรณรงค์ให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยว

ในประเทศได้ทุกช่วงเวลา/ทุกเทศกาล

ด้านการคลัง

การจัดเก็บรายได้รัฐบาล ในไตรมาสที่สามของปีงบประมาณ 2565 (เมษายน ? มิถุนายน 2565) รัฐบาล

จัดเก็บรายได้สุทธิ 768,977.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6.2 โดย (1) การจัดเก็บ

รายได้ของกรมสรรพากรเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16.0 เป็นผลมาจาก (i) ภาษีเงินได้นิติบุคคล

เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.8 เนื่องจากผลประกอบการของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดหลักทรัพย์ปรับตัว

เพิ่มขึ้น (ii) ภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 14.4 ตามการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้าและราคาน้ามันดิบที่ปรับตัว

เพิ่มขึ้น (iii) ภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเพิ่มขึ้นร้อยละ 32.2 เนื่องจากราคาน้ามันดิบในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น ทาให้

ผลประกอบการของธุรกิจน้ามันเพิ่มขึ้น และ (iv) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.7 ตามการฟื้นตัว

ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (2) การนาส่งรายได้ของส่วนราชการอื่นเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ

18.0 เนื่องจากการนาส่งค่าธรรมเนียมใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ 4G 900MHz และ 5G 700MHz ของ

สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติเป็นสาคัญ และ

(3) การจัดเก็บรายได้ของกรมศุลกากรเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.0 ตามการจัดเก็บอากร

ขาเข้าที่เพิ่มขึ้นตามมูลค่าการนาเข้าน้ามันดิบที่ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 115.2 อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บรายได้ของ

กรมสรรพสามิตต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 12.6 โดย (i) ภาษีน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามันลดลง

ร้อยละ 31.1 เป็นผลจากมาตรการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตสาหรับน้ามันดีเซลลิตรละไม่เกิน 3 บาท

ในระหว่างวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ? 20 พฤษภาคม 2565 และลิตรละ 5 บาท ในระหว่างวันที่ 21 พฤษภาคม ?

20 กรกฎาคม 2565 เพื่อบรรเทาภาระค่าครองชีพของของประชาชน และลดภาระของกองทุนน้ามันเชื้อเพลิง

และ (ii) ภาษีรถยนต์ลดลงร้อยละ 30.8 เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนชิ้นส่วนในการผลิต โดยเฉพาะเซมิคอนดักเตอร์

(Semiconductor) ซึ่งส่งผลให้ปริมาณการผลิตรถยนต์นั่งส่วนบุคคลลดลง

รวม 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,857,525.8 ล้านบาท สูงกว่าช่วง

เดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6.4 และสูงกว่าประมาณการรายได้ตามเอกสารงบประมาณร้อยละ 6.4 โดยการ

จัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากร กรมศุลกากร และการนาส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจสูงกว่าประมาณการรายได้

ร้อยละ 14.3 ร้อยละ 7.5 และร้อยละ 14.4 ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิตต่า

กว่าประมาณการร้อยละ 11.9 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการลดอัตราภาษีสรรพสามิตสาหรับน้ามันดีเซล ขณะที่

การนาส่งรายได้ของหน่วยงานอื่นต่ากว่าประมาณการร้อยละ 9.1

การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสที่สามของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 791,406.31 ล้านบาท

ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 13.2 ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี

พ.ศ. 2565 จานวน 679,249.7 ล้านบาท เพิ่มขึน้ จากไตรมาสเดยี วกนั ของปีงบประมาณก่อนร้อยละ 0.3 อัตรา

การเบิกจ่ายรวมร้อยละ 21.9 (สูงกว่าร้อยละ 19.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 20.6 ในไตรมาส

เดียวกันของปีก่อน) จาแนกเป็น (i) รายจ่ายประจา 570,824.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 อัตราการเบิกจ่าย

ร้อยละ 22.9 (สูงกว่าร้อยละ 20.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 20.6 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)

และ (ii) รายจ่ายลงทุน 108,424.9 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 12.3 ตามการลดลงของการเบิกจ่ายในหมวดที่ดิน

และสิ่งก่อสร้างเป็นสาคัญ โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 18.0 (สูงกว่าร้อยละ 15.1 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่า

ร้อยละ 20.5 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)

(2) การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี 31,821.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 18.8 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 13.3 (ต่ากว่าร้อยละ 24.1 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 12.4 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน) (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) จานวน 55,898.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.8 โดยเป็นผลมาจากการเบิกจ่ายของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยเป็นสาคัญ และ (4) การเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 (วงเงิน 1.5 ล้านล้านบาท) จานวน 28,703.5 ล้านบาท

รวม 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 2,914,703.7 ล้านบาท ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.6 ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2565 จานวน 2,269,173.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 73.2 (สูงกว่าร้อยละ 67.8 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) แบ่งเป็น (i) รายจ่ายประจา 1,972,710.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 อัตราการเบิกจ่าย ร้อยละ 79.0 (สูงกว่าร้อยละ 72.5 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) และ (ii) รายจ่ายลงทุน 296,463.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 49.1 (สูงกว่าร้อยละ 46.9 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) (2) การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 164,966.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 69.1 (ต่ากว่าร้อยละ 74.5 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน) (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) จานวน 164,461.03 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 12.4 และ (4) การเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 (วงเงิน 1.5 ล้านล้านบาท) จานวน 333,255.5 ล้านบาท

ทั้งนี้ ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2565 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 รวมทั้งสิ้น 1,326,030.9 ล้านบาท โดยเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์ทางการแพทย์และสาธารณสุขฯ จานวน 192,594.0 ล้านบาท แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้กับภาคประชาชน เกษตรกร และผู้ประกอบการฯ จานวน 852,719.8 ล้านบาท และแผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมฯ จานวน 280,717.1 ล้านบาท

2 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 4,266.5 ล้านบาท

3 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 17,152.8 ล้านบาท

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2565 มีมูลค่าทั้งสิ้น 10,204,305.4 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 61.1 ของ GDP ประกอบด้วย เงินกู้ภายในประเทศ 10,031,442.8 ล้านบาท (ร้อยละ 98.3 ของหนี้สาธารณะคงค้าง) และเงินกู้จากต่างประเทศ 172,862.6 ล้านบาท (ร้อยละ 1.7 ของหนี้สาธารณะคงค้าง)

ฐานะการคลัง: ในไตรมาสที่สามของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลเกินดุลงบประมาณ 62,513 ล้านบาท เมื่อรวมกับการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ 16,815 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 181,362 ล้านบาท ทาให้รัฐบาลเกินดุลเงินสดสุทธิ 227,060 ล้านบาท และเมื่อรวมกับเงินคงคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2565 จานวน 360,855 ล้านบาท ส่งผลให้ฐานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 587,915 ล้านบาท

รวม 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลมีการขาดดุลงบประมาณ 555,801 ล้านบาท เมื่อรวมกับการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ 66,106 ล้านบาท และมีการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 621,075 ล้านบาท ส่งผลให้รัฐบาลยังคงขาดดุลเงินสดหลังกู้สุทธิ 832 ล้านบาท

อัตราดอกเบี้ยนโยบายทรงตัวอยู่ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี ก่อนที่จะปรับขึ้นเป็นร้อยละ 0.75 ในเดือนสิงหาคม

2565 ซึ่งเป็นการปรับขึ้นครั้งแรกนับแต่ปี 2561

ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ครั้งที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2565 ที่ประชุมมีมติ

คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี โดย กนง. ประเมินว่า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวและ

ขยายตัวได้ต่อเนื่อง ตามการฟื้นตัวของการบริโภคภาคเอกชน โดยเฉพาะในหมวดบริการ รวมถึงจานวน

นักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง นอกจากนี้ ตลาดแรงงานและรายได้ครัวเรือนมีสัญญาณปรับดีขึ้น

ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดโรคโควิด-19 และกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว ขณะที่

สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยในขอบเขตจากัด อย่างไรก็ดี

ยังจาเป็นต้องติดตามอัตราเงินเฟ้อที่มีความเสี่ยงจากราคาน้ามันโลกที่อาจเพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งทิศทางต้นทุนและ

ค่าครองชีพที่สูงขึ้นจะส่งผลกระทบต่อการบริโภคของภาคเอกชน ทั้งนี้ การดาเนินนโยบายการเงินของไทย

สอคคล้องกับประเทศญี่ปุ่น เวียดนาม และอินโดนีเซีย ที่คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับเดียวกับไตรมาส

ก่อนหน้าที่ร้อยละ (-0.1) ร้อยละ 2.5 และร้อยละ 3.5 ตามลาดับ ขณะที่ประเทศเศรษฐกิจหลัก และประเทศ

ในภูมิภาคส่วนใหญ่ดาเนินนโยบายการเงินในทิศทางเข้มงวดมากขึ้น โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ อังกฤษ อินเดีย

แคนาดา เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และนิวซีแลนด์ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายมาอยู่ที่

ร้อยละ 1.50 ? 1.75 ร้อยละ 1.25 ร้อยละ 4.90 ร้อยละ 1.50 ร้อยละ 1.75 ร้อยละ 0.85 ร้อยละ 2.50 ร้อยละ

2.00 และร้อยละ 2.00 ต่อปี ตามลาดับ ด้านธนาคารกลางรัสเซียปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ

9.50 ต่อปี จากร้อยละ 20.0 ในไตรมาสก่อนหน้า

ในเดือนกรกฎาคม 2565 ธนาคารกลางสหรัฐฯ สหภาพยุโรป แคนาดา เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย ฟิลิปปินส์

มาเลเซีย และนิวซีแลนด์ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 2.25 ? 2.50 ร้อยละ 0.50 ร้อยละ 2.50

ร้อยละ 2.25 ร้อยละ 1.35 ร้อยละ 3.25 ร้อยละ 2.25 และร้อยละ 2.50 ต่อปี ตามลาดับ

ล่าสุดเดือนสิงหาคม 2565 ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารกลางอังกฤษ และออสเตรเลีย ปรับขึ้นอัตรา

ดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 0.50 ร้อยละ 1.25 และร้อยละ 1.35 เป็นร้อยละ 0.75 ร้อยละ 1.75 และร้อยละ

1.85 ตามลาดับ

ธนาคารพาณิชย์ คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้และเงินฝากต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่สถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ แต่ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากลงจากไตรมาสก่อนหน้า โดยธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่และขนาดกลางคงอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ไว้ที่เฉลี่ยร้อยละ 5.49 ต่อปี และร้อยละ 6.60 ต่อปี และคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือน ไว้ที่เฉลี่ยร้อยละ 0.45 ต่อปี และร้อยละ 0.50 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่ SFIs คงอัตราดอกเบี้ยให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ไว้ที่เฉลี่ยร้อยละ 6.13 ต่อปี แต่มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนเป็นร้อยละ 0.78 ต่อปี ลดลงจากเฉลี่ยร้อยละ 0.90 ต่อปี อย่างไรก็ดี อัตราดอกเบี้ยเงินกู้และเงินฝากที่แท้จริงยังทรงตัวอยู่ในระดับต่า ตามการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย และการปรับตัวเพิ่มขึ้นของเงินเฟ้อภายในประเทศ

ในเดือนกรกฎาคม 2565 ธนาคารพาณิชย์และ SFIs คงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ ในระดับเดียวกับเดือนก่อนหน้า

สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวต่อเนื่อง ณ สิ้นไตรมาสที่สองของปี 2565 ยอดสินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวในระดับเดียวกับไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.1 โดยสินเชื่อธุรกิจขยายตัวร้อยละ 6.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 5.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามความต้องการสินเชื่อเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนและเสริมสภาพคล่อง โดยเฉพาะธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิต สาหรับมาตรการสนับสนุนการให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบธุรกิจ (มาตรการสินเชื่อฟื้นฟูฯ) ภายใต้วงเงิน 250,000 ล้านบาท ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 มีการอนุมัติสินเชื่อแล้วทั้งสิ้น 183,739 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 73.50 ของวงเงิน ด้านสินเชื่อครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 2.8 ชะลอตัวจากร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ สินเชื่อครัวเรือนยังคงขยายตัวตามความต้องการสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ซึ่งส่วนหนึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก การผ่อนคลายหลักเกณฑ์การกากับดูแลสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยและสินเชื่ออื่นที่เกี่ยวเนื่องกับสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย (มาตรการ LTV) และการปรับลดค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์และจดจานองอสังหาริมทรัพย์ รวมทั้ง ความต้องการสินเชื่อเพื่อเสริมสภาพคล่องเพื่อรองรับการปรับตัวเพิ่มขึ้นของค่าครองชีพ

สินเชื่อในระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวร้อยละ 3.4 เร่งขึ้นอย่างช้า ๆ จากร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของสินเชื่อครัวเรือนร้อยละ 3.0 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่สินเชื่อธุรกิจขยายตัวร้อยละ 6.8 ชะลอตัวจากร้อยละ 7.4 ในไตรมาสก่อน ด้านสินเชื่อคงค้างในระบบธนาคารพาณิชย์ขยายตัวร้อยละ 4.5 ชะลอลงจากร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อธุรกิจขยายตัวร้อยละ 6.1 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่สินเชื่อครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 2.9 ชะลอลงจาก ร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า

สาหรับสินเชื่อในระบบธนาคารพาณิชย์ในสาขาสาคัญ ๆ ที่ขยายตัว ได้แก่ การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ (ร้อยละ 19.2) สาขาการผลิต (ร้อยละ 10.4) สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า (ร้อยละ 10.3) การก่อสร้าง (ร้อยละ 6.8) สาขาการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล (ร้อยละ 3.0) สาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ (ร้อยละ 0.7) และกิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ (ร้อยละ 0.2) ขณะที่สินเชื่อคงค้างในสาขาสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ กิจกรรมด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ (ลดลง ร้อยละ 10.6) สาขาข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร (ลดลงร้อยละ 6.4) และสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร (ลดลงร้อยละ 4.1) ด้านสินเชื่อคงค้างที่ให้กู้ยืมแก่ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ไม่รวมกิจกรรมทางการเงินและประกันภัย) ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้าร้อยละ 3.0 ชะลอตัวจากร้อยละ 5.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสาขาสาคัญ ๆ ที่ขยายตัว ได้แก่ สาขาการผลิต สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า สาขาการก่อสร้าง และสาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ ขณะที่สาขาสาคัญที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง และกิจกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน และสาขาข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสที่สองของปี 2565

ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 34.44 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 4.14 จากค่าเฉลี่ย 33.07 บาทต่อ

ดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการปรับตัวแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องของค่าเงินดอลลาร์ สรอ.

เมื่อเทียบกับเงินสกุลหลักอื่น ๆ โดยดัชนีเงินดอลลาร์ สรอ. (Dollar Index) เฉลี่ยอยู่ที่ 102.62 เพิ่มขึ้นจาก

ระดับ 96.87 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed)

ที่เร่งตัวขึ้น เพื่อชะลอการปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในประเทศ และควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้เข้าสู่ระดับ

เป้าหมายของกรอบนโยบายการเงิน นอกจากนี้ค่าเงินบาทยังได้รับผลกระทบจากการปรับลดการถือครอง

สินทรัพย์เสี่ยงของนักลงทุน (Risk-Off sentiment) เนื่องจาก (1) ความกังวลต่อสถานการณ์ความขัดแย้ง

ระหว่างรัสเซียและยูเครน (2) แนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน จากการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่

ระบาดของโรคโควิด-19 และ (3) การดาเนินนโยบายทางการเงินในทิศทางที่เข้มงวดขึ้นของธนาคารกลาง

ประเทศอุตสาหกรรมหลัก สาหรับค่าเงินสกุลอื่นที่สาคัญในภูมิภาคที่ปรับตัวอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สรอ.

อาทิ ค่าเงินของประเทศญี่ปุ่น ไต้หวัน เกาหลีใต้ จีน มาเลเซีย อินเดีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และฮ่องกง

ปรับตัวอ่อนค่าลงร้อยละ 11.5 ร้อยละ 5.2 ร้อยละ 4.5 ร้อยละ 4.2 ร้อยละ 3.8 ร้อยละ 2.7 ร้อยละ 2.2 ร้อยละ

1.8 ร้อยละ 1.5 และร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ขณะที่สกุลเงินของประเทศ

เวียดนาม ปรับตัวแข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.1 ทั้งนี้ ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) เฉลี่ยในไตรมาสที่สองอยู่ที่ 115.99 จุด

ลดลงจากค่าเฉลี่ยในไตรมาสก่อนหน้าร้อยละ 0.65 สะท้อนถึงค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้า/คู่แข่งอื่น ๆ

เคลื่อนไหวอ่อนค่าลงเล็กน้อย

ในเดือนกรกฎาคม 2565 ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 36.33 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 3.89 จาก

ค่าเฉลี่ย 34.97 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากนักลงทุนยังคงกังวลต่อการเร่งปรับขึ้นอัตรา

ดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ เพื่อบรรเทาแรงกดดันเงินเฟ้อ

ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) ปรับตัวลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสที่สองของปี 2565

ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์เคลื่อนไหวผันผวนในทิศทางลดลงตลอดทั้งไตรมาส โดยมีปัจจัยกระทบที่สาคัญมา

จาก (1) การดาเนินนโยบายการเงินในทิศทางที่ตึงตัวมากขึ้นเพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อของธนาคารกลางหลาย

ประเทศ (2) การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนจากมาตรการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคโควิด -19

(3) สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน (4) ความกังวลต่อเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มชะลอตัวลง

และ (5) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สายพันธุ์โอไมครอน ขณะที่การเปิดประเทศและผ่อนคลาย

ข้อจากัดในการเดินทางเข้าประเทศของภาครัฐมีส่วนช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านภาคการท่องเที่ยวและบริการ

โดย ณ สิ้นไตรมาสดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,568 จุด ลดลงร้อยละ 7.49 จากไตรมาสก่อนหน้า สาหรับ

กลุ่มธุรกิจที่ดัชนีฯ ปรับตัวลดลงที่สาคัญ ได้แก่ กลุ่มเทคโนโลยี (ลดลงร้อยละ 17.7) กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค

(ลดลงร้อยละ 14.4) กลุ่มธุรกิจการเงิน (ลดลงร้อยละ 11.7) และกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม (ลดลงร้อยละ 6.4) ทั้งนี้

การเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทยเป็นไปในทิศทางเดียวกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสาคัญ ๆ

ในภูมิภาค ได้แก่ ไต้หวัน (ลดลงร้อยละ 16.2) เกาหลีใต้ (ลดลงร้อยละ 15.4) ฟิลิปปินส์ (ลดลงร้อยละ 14.5)

สิงคโปร์ (ลดลงร้อยละ 9.0) และมาเลเซีย (ลดลงร้อยละ 9.0) ขณะที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสาคัญ ๆ

ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน (ร้อยละ 4.5)

ในเดือนกรกฎาคม 2565 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์อยู่ที่ 1,576 จุด ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสิ้นเดือนมิถุนายน

2565 ร้อยละ 0.52 ตามการประกาศผลประกอบการในช่วงไตรมาสที่สองของปี 2565 ของบริษัทจดทะเบียน

ที่ปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจในกลุ่มธนาคาร และกลุ่มเทคโนโลยี ประกอบกับนักลงทุนคลายความกังวลต่อ

ทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อเริ่มมีแนวโน้ม

ชะลอตัวลง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยปรับตัวเพิ่มขึ้น ในช่วงไตรมาสที่สองของปี 2565 อัตราผลตอบแทน

พันธบัตรรัฐบาลทั้งระยะสั้นและระยะยาวปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลาง

สหรัฐฯ และการคาดการณ์ของนักลงทุนว่าธนาคารแห่งประเทศไทย โดยคณะกรรมการนโยบายการเงินจะปรับขึ้น

อัตราดอกเบี้ยนโยบายในรอบการประชุมวันที่ 10 สิงหาคม 2565 ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสที่สองของปี 2565 อัตรา

ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอ้างอิงอายุ 1 ปี และอายุ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 1.09 ต่อปี และร้อยละ 2.90 ต่อปี

เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.53 ต่อปี และร้อยละ 2.35 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ โดยนักลงทุนต่างชาติ

มีสถานะขายสุทธิ 28.9 พันล้านบาท เทียบกับสถานะซื้อสุทธิ 23.4 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า และมีตรา

สารหนี้ครบอายุไถ่ถอน 52.7 พันล้านบาท สาหรับการระดมทุนใหม่ผ่านตลาดตราสารหนี้มีมูลค่าทั้งสิ้น 598.5

พันล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนของกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ กลุ่มพลังงาน กลุ่มเงินทุนและ

หลักทรัพย์ และกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ในเดือนกรกฎาคม 2565 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า

ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวปรับตัวลดลง สอดคล้องกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล

สหรัฐฯ เนื่องจากนักลงทุนกังวลต่อการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ภายหลังธนาคารกลางของหลายประเทศ

ดาเนินนโยบายการเงินในทิศทางเข้มงวดมากขึ้น ทั้งนี้ ณ สิ้นเดือนกรกฎาคมอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล

อายุ 1 ปี และอายุ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 1.10 ต่อปี และร้อยละ 2.58 ต่อปี ตามลาดับ โดยนักลงทุนต่างชาติขายสุทธิ

6.2 พันล้านบาท ต่อเนื่องจากการขายสุทธิ 41.5 พันล้านบาท ในเดือนก่อนหน้า

เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลเข้าสุทธิ ในไตรมาสแรกของปี 2565 มีเงินทุนไหลเข้าสุทธิ 4.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ.

ต่อเนื่องจากการไหลเข้าสุทธิ 2.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการนาเงินเข้ามาลงทุน

โดยตรงและการลงทุนในหลักทรัพย์ไทย โดยเฉพาะการลงทุนในตลาดตราสารหนี้ของนักลงทุนต่างชาติ

เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม ยังมีเงินไหลออกจากการนาเงินออกไปลงทุนโดยตรงและการลงทุนในหลักทรัพย์

ต่างประเทศของนักลงทุนไทยอย่างต่อเนื่อง

อัตราผลตอบแทน

พันธบัตรรัฐบาล

ทั้งระยะสั้นและระยะยาว

ปรับตัวเพิ่มขึ้น

เงินทุนเคลื่อนย้ายไหล

เข้าสุทธิ ตามการนาเงิน

เข้ามาลงทุนโดยตรงและ

การลงทุนในหลักทรัพย์

ของนักลงทุนต่างชาติ

เป็นสาคัญ

ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ในไตรมาสที่สองของปี 2565 ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล 8.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ.

(296.7 พันล้านบาท) เทียบกับการขาดดุล 3.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (95.3 พันล้านบาท) ในไตรมาสเดียวกัน

ของปีก่อน และการขาดดุล 2.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (72.4 พันล้านบาท) ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจาก

การขาดดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ 13.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เป็นการขาดดุลต่อเนื่องเป็น

ไตรมาสที่ 9 (ต่ากว่าการขาดดุล 14.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน) ขณะที่ดุลการค้า

เกินดุล 5.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ต่ากว่าการเกินดุล 11.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน)

รวมครึ่งแรกของปี 2565 ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล 10.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (369.2 พันล้านบาท) เทียบกับ

การขาดดุล 6.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (202.8 พันล้านบาท) ในช่วงครึ่งหลังของปีที่ผ่านมา และการขาดดุล

4.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (151.3 พันล้านบาท) ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ทิศทางการเคลื่อนไหวของค่าเงินบาท

ค่าเงินบาทเมื่อเทียบเงินดอลลาร์ สรอ. มีแนวโน้มอ่อนค่าลงจากปีก่อน โดยข้อมูล ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2565 ค่าเงินบาทปรับตัวอ่อนค่าลง

ร้อยละ 10.1 เมื่อเทียบกับ ณ สิ้นปี 2564 และในช่วงไตรมาสที่สองอ่อนค่าลงร้อยละ 4.1 (%QoQ) เมื่อเทียบกับไตรมาสแรก และเมื่อพิจารณาดัชนีค่าเงิน

บาท (NEER) เดือนกรกฎาคม 2565 อยู่ที่ระดับ 112.66 เทียบกับระดับ 114.41 ในเดือนธันวาคม 2564 สะท้อนถึงค่าเงินบาทเมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้า

คู่แข่งปรับตัวอ่อนค่าลง ขณะที่ดัชนีค่าเงินบาทที่แท้จริง (REER) ณ เดือนมิถุนายน 2565 อยู่ที่ระดับ 104.06 เพิ่มขึ้นจากระดับ 101.64 ในเดือนธันวาคม

2564 ทั้งนี้ ในช่วงที่ผ่านมาค่าเงินบาทมีทิศทางอ่อนค่าลงเช่นเดียวกับค่าเงินของหลายประเทศในภูมิภาค ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย

นโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ อย่างไรก็ดี ยังมีอีกหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาทที่สาคัญ ทั้งปัจจัยที่ส่งผลในระยะสั้น อาทิ

ส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยนโยบาย และผลตอบแทนในตลาดทุน รวมถึงการคาดการณ์อัตราแลกเปลี่ยน ด้านปัจจัยที่ส่งผลในระยะยาว อาทิ ดุลบัญชี

เดินสะพัด อัตราเงินเฟ้อของไทยเทียบกับสหรัฐฯ และเทคโนโลยีการผลิต เป็นต้น โดยในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2565 พบว่า ไทยขาดดุลบัญชีเดินสะพัด

ทงั้ สนิ้ 10,835.74 ลา นดอลลาร สรอ.

นอกจากนี้ การเคลอื่ นไหวของเงนิ ทนุ การเคลอื่ นยา ยทสี่ คญั ไดแ ก่ การลงทนุ โดยตรง และการลงทนุ ในหลกั ทรพั ย ซงึ่ ถอื เปน็ ปจั จยั ทมี่ บี ทบาทสาคญั ตอ่

การเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจและการเงินของประเทศ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาท โดยหากพิจารณาสถานะเงินทุนเคลื่อนย้าย

ในหลักทรัพย์ไทยผ่านสถานะซื้อขายสุทธิของนักลงทุนต่างชาติ พบว่า ยังมีเงินทุนไหลเข้าในตลาดตราสารทุนต่อเนื่อง และกระแสการเคลื่อนย้ายเงินทุน

ภายในประเทศมแ นวโนม้ ไหลเขา สนิ ทรพั ยเ สยี่ งมากขนึ้ โดยนกั ลงทนุ ตา งชาตมิ สี ถานะซอื้ สทุ ธิ 112.6 พนั ลา นบาท ในชว่ งครงึ่ ปแ รกของปี 2565 เพมิ่ ขนึ้ จาก

สถานะซื้อสุทธิ 27.7 พันล้านบาท และขายสุทธิ 76.3 พันล้านบาท ในช่วงครึ่งปีหลังและครึ่งปีแรกของปี 2564 ตามลาดับ ด้านตลาดตราสารหนี้ในช่วง

ครึ่งปีแรกของปี 2565 นักลงทุนต่างชาติมีสถานะขายสุทธิ 5.5 พันล้านบาท เทียบกับสถานะซื้อสุทธิ 69.0 พันล้านบาท และซื้อสุทธิ 72.5 พันล้านบาท

ในชว่ งครงึ่ ปหี ลงั และครงึ่ ปแ รกของปี 2564 ตามลาดบั ซงึ่ สะทอ้ นถงึ ความเชอื่ มนั่ ตอ่ แนวโนม้ ของการฟนื้ ตวั ทางเศรษฐกจิ ของไทยในระยะตอ่ ไป

เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2565 อยู่ที่ 222.3 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงจาก 246.5

พันล้านดอลลาร์ สรอ. ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2564 เมื่อคิดในรูปเงินบาท เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือน

มิถุนายน 2565 อยู่ที่ 7,844.0 พันล้านบาท ต่ากว่า 7,901.2 พันล้านบาท ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2564

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ในไตรมาสที่สองของปี 2565 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 6.5 เทียบกับร้อยละ 4.7

ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีราคาในหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.8 เร่งขึ้นจาก

ร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาเนื้อสัตว์ เครื่องประกอบอาหาร และไข่และ

ผลิตภัณฑ์นม ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.8 ร้อยละ 10.3 และร้อยละ 8.2 ตามลาดับ ส่วนดัชนีราคาในหมวดที่มิใช่

อาหารและเครื่องดื่มเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนี

ราคาไฟฟ้า เชื้อเพลิง น้าประปาและแสงสว่าง และยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.6 และ

ร้อยละ 19.0 ตามลาดับ สอดคล้องกับดัชนีราคาหมวดพลังงาน ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.6 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ

26.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 2.3 เทียบกับร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า4

รวมครึ่งแรกของปี 2565 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 5.6 เทียบกับร้อยละ 1.6 ในครึ่งหลังของปีก่อนหน้า

และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 1.9 เทียบกับร้อยละ 0.2 ในครึ่งหลังของปีก่อน

เงินสารองระหว่างประเทศ

ณ สิ้นเดือนมิถุนายน

2565 อยู่ที่ 222.3

พันล้านดอลลาร์ สรอ.

ดัชนีราคาผู้ผลิต ในไตรมาสที่สองของปี 2565 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.3 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.8

ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์จากเหมือง เพิ่มขึ้นร้อยละ 68.1 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ

61.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามราคากลุ่มปิโตรเลียมดิบและก๊าซธรรมชาติ ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 88.7 เทียบกับ

การเพิ่มขึ้นร้อยละ 82.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.1 เทียบกับ

การเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของราคากลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่น

ปิโตรเลียม และเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมี ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 92.9 และร้อยละ 13.5 ตามลาดับ และดัชนีราคา

หมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อนหน้า

สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของราคาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์จากการประมง ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7

และร้อยละ 7.1 ตามลาดับ5

รวมครึ่งแรกของปี 2565 ดัชนีราคาผู้ผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 เทียบกับร้อยละ 6.4 ในครึ่งหลังของปีก่อนหน้า

2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ามันไตรมาสที่สองของปี 2565

ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า

ราคาน้ามันดิบอยู่ในระดับสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนและเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสที่สอง ของปี 2565 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสท์เท็กซัส) อยู่ที่ 108.8 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.6 จากราคาเฉลี่ย 67.7 ดอลลาร์ สรอ.ต่อบาร์เรล ในช่วงเดียวกันของ ปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.1 เมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ย 96.2 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสก่อนหน้า

การเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันดิบในตลาดโลกในไตรมาสนี้มีสาเหตุมาจาก (1) ความกังวลต่อสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน โดยเฉพาะภายหลังการดาเนินมาตรการคว่าบาตรการนาเข้าน้ามันดิบจากรัสเซียของประเทศในกลุ่มยุโรป (2) ปริมาณน้ามันดิบสารองทางการค้าของสหรัฐฯ ปรับตัวลดลง โดยในไตรมาสที่สองของ ปี 2565 อยู่ที่ 417 ล้านบาร์เรล ลดลงร้อยละ 13.1 เมื่อเทียบกับ 481 ล้านบาร์เรล ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และ (3) นักลงทุนยังกังวลว่าอุปทานที่เพิ่มขึ้นจากกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ามัน และชาติพันธมิตร (โอเปกพลัส) จะยังไม่เพียงพอต่อการชดเชยการลดลงของกาลังการผลิตจากรัสเซีย และยังคงไม่สามารถเพิ่มกาลังการผลิตน้ามันตามข้อตกลง เนื่องจากบางประเทศประสบปัญหาการผลิต

รวมครึ่งแรกของปี 2565 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสท์เท็กซัส) อยู่ที่ 102.1 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.8 จากค่าเฉลี่ย 63.5 ดอลลาร์ สรอ. ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 36.0 จากราคาเฉลี่ย 75.1 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในครึ่งหลังของปี 2564

3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสที่สองของปี 2565

เศรษฐกิจโลกในไตรมาสที่สองของปี 2565 มีทิศทางชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้า ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศหลัก ได้แก่ สหรัฐฯ ยูโรโซน และจีน โดยเป็นผลจากการเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญ ได้แก่ สถานการณ์ ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่นาไปสู่การดาเนินมาตรการคว่าบาตรต่อรัสเซียจากหลายประเทศเศรษฐกิจสาคัญซึ่งส่งผลให้ราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์สาคัญปรับตัวสูงขึ้นมาก และทาให้อัตราเงินเฟ้อในหลายประเทศปรับตัวสูงสุดในรอบหลายสิบปี6 นอกจากนี้ ความขัดแย้งดังกล่าวยังส่งผลกระทบซ้าเติมต่อปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานโลกและการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิตทั้งในภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ขณะเดียวกัน ภายใต้ แรงกดดันเงินเฟ้อที่สูงขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและราคาพลังงานที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลักได้มีการดาเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดมากขึ้นต่อเนื่อง7 ประกอบกับการลดลงของแรงขับเคลื่อนจากมาตรการสนับสนุนทางการคลังภายหลังจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เริ่มผ่อนคลายลง ขณะที่เศรษฐกิจจีนชะลอตัวลงมากเนื่องจากผลของการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดตามนโยบายผู้ติดเชื้อ เป็นศูนย์ (Zero Covid Policy) ที่มีการปิดเมืองสาคัญทางเศรษฐกิจหลายแห่ง รวมถึงปัญหาหนี้สิน ในภาคอสังหาริมทรัพย์

เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 1.6 (Advance Estimate) ชะลอลงจากร้อยละ 3.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และ เมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 0.9 (%QoQ saar.) ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นการลดลงของเศรษฐกิจเป็นไตรมาสที่สองติดต่อกัน สะท้อนถึงการถดถอยทางเทคนิค การชะลอตัวลงของเศรษฐกิจสหรัฐฯ เป็นผลมาจากการชะลอตัวของการบริโภคภายในประเทศเนื่องจากแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้นสู่ระดับสูงสุดในรอบ 40 ปี8 รวมทั้งการลดลงของการใช้จ่ายภาครัฐบาลตามการสิ้นสุดมาตรการกระตุ้นทางเศรษฐกิจในช่วงของการแพร่ระบาด ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนชะลอตัวโดยเป็นผลจากการลดลงของการลงทุนเพื่อที่อยู่อาศัยต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่สามติดต่อกัน อย่างไรก็ดี ตลาดแรงงานยังคงตึงตัวต่อเนื่อง โดยอัตราการว่างงานในเดือนมิถุนายนคงตัวอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 3.6 ต่อเนื่องเป็นเดือนที่สี่ติดต่อกัน สอดคล้องกับค่าจ้าง ที่ยังคงเพิ่มขึ้นในระดับสูงกว่าช่วงก่อนการแพร่ระบาด9 ท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อที่สูงขึ้น ส่งผลให้ในการประชุมของคณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 3 – 4 พฤษภาคมและวันที่ 14 – 15 มิถุนายน 2565 ได้มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 2 ครั้งติดต่อกัน โดยปรับเพิ่มเป็นร้อยละ 1.50 – 1.75 (ปรับเพิ่มร้อยละ 0.50) และร้อยละ 2.25 – 2.50 (ปรับเพิ่มร้อยละ 0.75) ตามลาดับ ซึ่งนับเป็นการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่สูงสุดนับตั้งแต่ปี 2537

เศรษฐกิจยูโรโซน ขยายตัวร้อยละ 4.0 ชะลอลงจากร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อนหน้า (%YoY) โดยเป็นผล มาจากการชะลอลงของเศรษฐกิจประเทศสมาชิกสาคัญ ๆ ได้แก่ เยอรมนี ฝรั่งเศส และอิตาลี เนื่องจากการชะลอลงของอุปสงค์ภายในประเทศและการผลิตภาคอุตสาหกรรม ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่นาไปสู่การดาเนินมาตรการคว่าบาตรที่สาคัญ โดยเฉพาะการระงับการนาเข้าน้ามันทางทะเลจากรัสเซียภายในปี 256510 ขณะเดียวกัน ปริมาณการขนส่งก๊าซธรรมชาติเฉลี่ยต่อวันจากรัสเซียไปเยอรมนีผ่านทะเลบอลติก ในช่วงครึ่งหลังของเดือนมิถุนายนลดลงร้อยละ 59.8 เมื่อเทียบกับระดับเฉลี่ยในเดือนเมษายนและพฤษภาคม และลดลงร้อยละ 58.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ทั้งนี้ ผลจากความยืดเยื้อของสถานการณ์ ความขัดแย้งทาให้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคลดลงสู่ระดับต่าสุดเป็นประวัติการณ์ ขณะที่ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมอยู่ในระดับต่าสุดในรอบ 4 ไตรมาสและ 5 ไตรมาส ตามลาดับ สาหรับอัตราเงินเฟ้อทั่วไป ในไตรมาสที่ 2 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 8.0 เทียบกับร้อยละ 6.1 ในไตรมาสก่อนและเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่มีการจัดเก็บข้อมูล เพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้นดังกล่าว ธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank: ECB)

3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสที่สองของปี 2565

เศรษฐกิจสหรัฐฯ เมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว ลดลงร้อยละ 0.9 ซึ่งเป็น การลดลงของเศรษฐกิจเป็น ไตรมาสที่สองติดต่อกัน สะท้อนถึงภาวะเศรษฐกิจถดถอยเชิงเทคนิค

6 อัตราเงินเฟ้อ (CPI) ของสหรัฐฯ สูงสุดในรอบ 40 ปี ขณะที่อัตราเงินเฟ้อของยูโรโซนอยู่ในระดับสูงสุดนับตั้งแต่มีการจัดเก็บข้อมูล

7 ธนาคารกลางสหรัฐฯ (US Federal Reserve) ในการประชุมเมื่อวันที่ 14 – 15 มิถุนายน 2565 มีมติปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.75 ซึ่งเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ในอัตราที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2537 สาหรับธนาคารกลางอังกฤษ (Bank of England) ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2565 มีมติปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นร้อยละ 0.25 เป็นร้อยละ 1.25 นับเป็นการปรับเพิ่มติดต่อกันเป็นครั้งที่ห้า ขณะที่ธนาคารกลางของออสเตรเลีย ในการประชุมเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2565 มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 0.35 เป็นร้อยละ 0.85 และเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งที่ 2 ติดต่อกัน

8 อัตราเงินเฟ้อ (CPI) ในเดือนมิถุนายน 2565 อยู่ที่ร้อยละ 9.0 เร่งขึ้นจากร้อยละ 8.5 ในเดือนพฤษภาคม 2565 และเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือนธันวาคม 2524 ส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยในไตรมาสที่ 2 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 8.6

9 ค่าจ้างเฉลี่ยรายสัปดาห์ในเดือนมิถุนายน 2565 ขยายตัวร้อยละ 4.2 เทียบกับเฉลี่ยร้อยละ 3.1 ในช่วงก่อนการแพร่ระบาด ปี 2562 อย่างไรก็ตามยังต่ากว่าอัตราเงินเฟ้อ

10 เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2565 สหภาพยุโรปได้ประกาศระงับการนาเข้าน้ามันจากรัสเซียบางส่วน โดยให้ชาติสมาชิกยุติการนาเข้าน้ามันดิบจากรัสเซียที่ขนส่งทางเรือภายในวันที่ 5 ธันวาคม 2565 และยุติการนาเข้าน้ามันสาเร็จรูปจากรัสเซีย รวมถึงห้ามการทาประกันภัยให้กับเรือบรรทุกน้ามันรัสเซียภายในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566

ในการประชุมเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2565 ได้มีการส่งสัญญาณของการใช้นโยบายการเงินแบบเข้มงวดในระยะต่อไป11 ขณะที่มาตรการทางการคลังเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจยังคงมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง12

เศรษฐกิจญี่ปุ่น ยังคงขยายตัวได้ต่อเนื่องภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดภายในประเทศปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้อุปสงค์ภายในประเทศขยายตัวดีขึ้น สะท้อนได้จากดัชนีการค้าปลีกที่ขยายตัวร้อยละ 2.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.4 ในไตรมาสที่หนึ่ง เช่นเดียวกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อภาคบริการซึ่งเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 52.4 ในไตรมาสที่สอง เทียบกับระดับ 47.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่ภาคการส่งออกสินค้าลดลงร้อยละ 2.3 จากการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในไตรมาส ก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจากสภาวะชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน สาหรับอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 2.4 เร่งขึ้นจากร้อยละ 0.9 ในไตรมาสแรก และสูงกว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารกลาง อย่างไรก็ตาม ในการประชุมของธนาคารกลางญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 16 – 17 มิถุนายน 2565 มีมติยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ -0.1 และรักษาระดับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุ่น ช่วงอายุ 10 ปี ให้อยู่ที่ระดับร้อยละ 0.0 (Yield Curve Control) เพื่อให้อัตราเงินเฟ้อยังคงอยู่ในระดับเป้าหมายที่ร้อยละ 2.0 และสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจต่อไป

เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 0.4 ชะลอลงจากร้อยละ 4.8 ในไตรมาสก่อนหน้าและเป็นอัตราการขยายตัวต่าที่สุด ในรอบ 9 ไตรมาส เนื่องจากผลกระทบของการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวดโดยไม่ให้มีผู้ติดเชื้อ (Zero-tolerance Covid-19 policy) และการล็อกดาวน์ในพื้นที่เขตอุตสาหกรรมสาคัญ13 ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรม การส่งออกและการใช้จ่ายภายในประเทศได้รับผลกระทบ สะท้อนจากระดับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการของจีน (Caixin PMI) อยู่ที่ 48.6 และ 44.0 ลดลงต่าสุดในรอบ 9 ไตรมาส เช่นเดียวกับมูลค่า ค้าปลีกลดลงร้อยละ 4.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.3 ในไตรมาสก่อนหน้าและเป็นการลดลงครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส ขณะที่ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคลดลงมาอยู่ที่ระดับ 87.5 ซึ่งเป็นระดับต่าที่สุดเป็นประวัติการณ์ นอกจากนี้ การลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ลดลงร้อยละ 5.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นการลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 9 ไตรมาส สะท้อนให้เห็นทิศทางการลดลงของกิจกรรมในภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังคงเผชิญกับปัญหาหนี้สินในระดับสูง ขณะที่อัตราการว่างงานของจีนอยู่ที่ร้อยละ 5.83 สูงสุดนับตั้งแต่ไตรมาสที่ 3 ปี 2563 ภายใต้แนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจส่งผลให้รัฐบาลจีนมีการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง14

เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ยังคงขยายตัวต่อเนื่องตามอุปสงค์ภายในประเทศและ ภาคการส่งออก โดยเศรษฐกิจสิงคโปร์ เกาหลีใต้ และไต้หวันในไตรมาสที่ 2 ขยายตัวร้อยละ 4.4 ร้อยละ 2.9 และร้อยละ 3.1 เทียบกับร้อยละ 3.8 ร้อยละ 3.0 และร้อยละ 3.7 ในไตรมาสก่อน ตามลาดับ โดยดัชนีการค้าปลีกและมูลค่า การส่งออกสินค้ายังคงขยายตัวต่อเนื่อง15 ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงลดลงร้อยละ 1.3 เทียบกับการลดลงร้อยละ 3.9 ในไตรมาสก่อน โดยเป็นผลกระทบจากควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวด ผลกระทบจากการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจจีนรวมถึงปัญหาการชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน ทั้งนี้ เมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจสิงคโปร์และเกาหลีใต้ขยายตัวร้อยละ 0.0 และร้อยละ 0.7 เทียบกับร้อยละ 0.9 ร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อน ตามลาดับ ขณะที่เศรษฐกิจไต้หวันลดลงร้อยละ 0.8 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนเศรษฐกิจฮ่องกงขยายตัวร้อยละ 0.9

เศรษฐกิจญี่ปุ่น ยังคงฟื้นตัวต่อเนื่องจากการฟื้นตัวของ อุปสงค์ภายในประเทศ ขณะที่ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงดาเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัวต่อไป แม้อัตราเงินเฟ้อจะเพิ่มขึ้นเกินกว่าค่าเป้าหมายนโยบายการเงินก็ตาม

11 ECB ได้มีมติที่จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.0 แต่ได้มีการระบุว่าจะมีการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 0.25 ในการประชุมครั้งถัดไปในเดือนกรกฎาคม 2565 และจะปรับเพิ่มอีกครั้งในการประชุมเดือนกันยายน 2565 นอกจากนี้ คณะกรรมการยังได้มีมติเกี่ยวกับการดาเนินนโยบายการเงินที่สาคัญประกอบด้วย การคงแผนการยุติการเข้าซื้อสินทรัพย์ภายใต้โครงการ Asset Purchase Programme (APP) ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2565 การคงการนาเงินต้นจากสินทรัพย์จากตามโปรแกรม Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) ที่ถือจนครบกาหนดไปลงทุนใหม่จนถึงอย่างน้อยสิ้นปี 2567

12 สาหรับการดาเนินมาตรการทางการคลังที่สาคัญภายใต้มาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU Recovery and Resilience Facility วงเงินรวม 6.725 แสนล้านยูโร ได้มีการเบิกจ่ายงบประมาณภายใต้มาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป (Recovery and Resilience Facility) มูลค่าประมาณ 2.6 หมื่นล้านยูโรระหว่างไตรมาสนี้ ส่งผลให้ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2565 คณะกรรมาธิการยุโรปได้เบิกจ่ายเงินกู้และเงินทุนแล้วให้กับ 21 ประเทศ มูลค่าประมาณ 1.0 แสนล้านยูโร

13 ทั้งนี้ รัฐบาลจีนได้ประกาศล็อกดาวน์ไปแล้ว 45 เมือง ครอบคลุมประชากรทั้งสิ้น 373 ล้านคน ซึ่งรวมเมืองสาคัญ ๆ ทางการเมืองและเศรษฐกิจ เช่น กรุงปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ และเซินเจิ้น

14 คณะกรรมการด้านการคลังและเศรษฐกิจ (Central Committee for Financial and Economic Affairs: CCFEA) ในการประชุมเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2565 ได้ประกาศแนวทางกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการลงทุนในระบบโครงสร้างพื้นฐานสมัยใหม่ซึ่งจะเป็นเสาหลักในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมในระยะต่อไป จากนั้น เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 รัฐบาลได้แถลง 33 มาตรการเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังจากการระบาด โดยมุ่งเน้นไปที่ภาคการลงทุนและการบริโภคภาคเอกชน อาทิ มาตรการด้านการคลังขอคืนเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่ม เร่งการใช้จ่าย ด้านการคลัง และเร่งการออกพันธบัตรพิเศษของรัฐบาลท้องถิ่น ในขณะที่ ธนาคารกลางจีน (PBOC) ได้ผ่อนคลายนโยบายการเงินเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องโดยในวันที่ 25 เมษายน 2565 PBOC ได้ลดอัตราส่วนเงินสดที่ธนาคารต้องถือไว้เป็นทุนสารอง (RRR) จากร้อยละ 8.4 เป็นร้อยละ 8.1 ซึ่งคาดว่าจะเป็นการเพิ่มสภาพคล่องให้กับระบบเศรษฐกิจประมาณ 5.30 แสนล้านหยวน นอกจากนี้ยังได้ดาเนินโครงการปล่อยเงินกู้ใหม่ (Relending Program) เพื่อสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาดและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ถ่านหินซึ่งคาดว่าจะเพิ่มสภาพคล่องได้ประมาณ 1 แสนล้านหยวน นอกจากนี้ PBOC จะจัดตั้งกองทุนการปล่อยเงินกู้ใหม่เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมขนาดไมโครและขนาดเล็ก (micro and small businesses: MSBs) และ จะมีการขยายโครงการให้ครอบคลุมถึงธุรกิจด้านนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม (Sci-tech innovation and green development)

15 ดัชนีการค้าปลีกของสิงคโปร์ เกาหลีใต้ และไต้หวันในไตรมาสที่สองขยายตัวร้อยละ 15.5 ร้อยละ 8.0 และร้อยละ 9.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 6.2 ร้อยละ7.6 และร้อยละ 4.1 ในไตรมาสแรก ตามลาดับ เช่นเดียวกับมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ขยายตัวร้อยละ 20.9 ร้อยละ 13.0 และร้อยละ 15.4 เทียบกับร้อยละ 17.1 ร้อยละ 18.4 และร้อยละ 23.5 ในไตรมาสก่อนหน้า

ของแต่ละประเทศมีการใช้นโยบายการเงินที่ตึงตัวมากขึ้น16

เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเซียน ขยายตัวอย่างต่อเนื่องตามภาคการผลิตและการส่งออก โดยเศรษฐกิจอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และเวียดนาม ขยายตัวร้อยละ 5.4 ร้อยละ 7.4 ร้อยละ 8.9 และร้อยละ 7.7 เทียบกับร้อยละ 5.0 ร้อยละ 8.2 ร้อยละ 5.0 และร้อยละ 5.1 ตามลาดับ โดยมูลค่าการส่งออกสินค้ายังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง17 เช่นเดียวกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อที่ยังคงอยู่ในระดับของการขยายตัว รวมถึงอัตราการว่างงานที่ลดลงใกล้เคียงกับระดับก่อนหน้าการแพร่ระบาด อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ภายในประเทศยังคงเผชิญกับ แรงกดดันเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง18 ส่งผลให้ธนาคารกลางมาเลเซียและฟิลิปปินส์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย19 ขณะที่ธนาคารกลางอินโดนีเซียและเวียดนามยังคงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับต่าอย่างต่อเนื่อง

4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2565

เศรษฐกิจโลกในปี 2565 มีแนวโน้มชะลอตัวลงจากปีก่อนและฟื้นตัวช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ สหรัฐฯ ยูโรโซน ญี่ปุ่น และจีน เนื่องจากผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนและมาตรการคว่าบาตรที่มีแนวโน้มยืดเยื้อ ส่งผลให้ราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์เร่งตัวขึ้นจนก่อให้เกิดแรงกดดันอย่างมากต่อต้นทุนการผลิตและอัตราเงินเฟ้อ และมีแนวโน้มที่จะเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการบริโภคภายในประเทศของประเทศต่าง ๆ ท่ามกลางการดาเนินนโยบายการเงินที่เป็นไปอย่างเข้มงวดมากขึ้นโดยเฉพาะประเทศเศรษฐกิจหลัก ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผลต่อต้นทุนการกู้ยืมและฐานะทางการเงินของภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน นอกจากนี้ ความขัดแย้งและมาตรการคว่าบาตรที่เกิดขึ้นยังส่งผลกระทบซ้าเติมต่อห่วงโซ่อุปทานโลก โดยเฉพาะการขาดแคลนสินค้าวัตถุดิบสาคัญที่รัสเซียและยูเครนเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกหลัก รวมทั้งความเสี่ยงต่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศในภูมิภาคยุโรปที่พึ่งพิงการนาเข้าพลังงานจากรัสเซีย อันเนื่องมาจากการระงับการนาเข้าน้ามันจากรัสเซียภายในสิ้นปี 2565 ขณะเดียวกัน เศรษฐกิจโลกยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนจากการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดในพื้นที่เศรษฐกิจสาคัญซึ่งส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักในกิจกรรมการผลิตและการขนส่งของจีน และมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังประเทศต่าง ๆ ที่มีความเชื่อมโยงทางการผลิตและพึ่งพิงการค้าระหว่างประเทศกับจีนในสัดส่วนที่สูงโดยเฉพาะเศรษฐกิจประเทศอุตสาหกรรมใหม่ในภูมิภาคเอเชียและกลุ่มประเทศอาเซียน นอกจากนี้ เศรษฐกิจโลกยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับปัจจัยความไม่แน่นอนของประเด็นความขัดแย้งระหว่างจีนกับสหรัฐฯ ต่อสถานะของไต้หวันซึ่งอาจส่งผลการดาเนินมาตรการกีดกันทางการค้าและ การลงทุนที่ขยายวงกว้างมากขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิตโลกในระยะต่อไปอย่างมีนัยสาคัญ อย่างไรก็ดี การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในช่วงที่เหลือของปียังคงได้รับแรงสนับสนุนจากการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและการฟื้นตัวของภาคบริการเนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งตลาดแรงงานที่ยังคงอยู่ในระดับแข็งแกร่ง

ทั้งนี้ แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในกรณีฐานตั้งอยู่บนเงื่อนไขและสมมติฐานที่สาคัญ ดังนี้ (1) ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ โดยเฉพาะระหว่างรัสเซียและยูเครน และระหว่างสหรัฐฯ และจีน ไม่ลุกลามจนนาไปสู่ความขัดแย้งทางการทหาร และการดาเนินมาตรการคว่าบาตรและการกีดกันทางการค้าและการลงทุนที่รุนแรงและขยายวงกว้างมากขึ้นจนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกอย่างรุนแรง (2) ตลาดพลังงานโลกสามารถปรับตัวปริมาณการผลิตและการค้าระหว่างประเทศได้ และไม่ส่งผลกระทบต่อสมดุลของตลาดพลังงานโลกอย่างมีนัยสาคัญ (3) ความผันผวนในตลาดเงินและตลาดทุนจากการ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสาคัญ ๆ ไม่ลุกลามจนส่งผลกระทบรุนแรงต่อภาคเศรษฐกิจจริง ขณะที่วิกฤติเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศ ตลาดเกิดใหม่และประเทศรายได้น้อยที่มีปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งผลต่อเศรษฐกิจโลกในภาพรวมอย่างจากัด และ (4) การแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19 และโรคฝีดาษลิงส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างจากัดและไม่นาไปสู่การบังคับใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดและจากัดการเดินทางระหว่างประเทศที่เข้มงวดมากขึ้นอีกครั้ง ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว ในกรณีฐานคาดว่าเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2565 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 3.3 และร้อยละ 4.3 ตามลาดับ ชะลอลงจากร้อยละ 5.3 และร้อยละ 10.1 ในปี 2564 ตามลาดับ และเป็นการ ปรับลดจากสมมติฐานการประมาณครั้งที่ผ่านมาที่ร้อยละ 3.5 และร้อยละ 4.7 โดยมีแนวโน้มเศรษฐกิจประเทศสาคัญ ๆ ดังนี้

เศรษฐกิจสหรัฐฯ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.2 ในปี 2565 ชะลอลงจากร้อยละ 5.7 ในปี 2564 และปรับลดลงจากร้อยละ 3.6 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นผลจากแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้นจากระดับราคาพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นและปัญหาความชะงักงันของห่วงโซ่อุปทานโลกที่ยังคงยืดเยื้อ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวของการใช้จ่ายของภาคครัวเรือนและการลงทุนของภาคธุรกิจ โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการในเดือนกรกฎาคมปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ 52.2 และ 47.3 ต่าสุดในรอบ 24 เดือนและ 25 เดือน ตามลาดับ สอดคล้องกับ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวลดลงสู่ระดับ 95.7 ซึ่งเป็นระดับต่าสุดในรอบ 17 เดือน นอกจากนี้ ภาคอสังหาริมทรัพย์ยังมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพื่ออสังหาริมทรัพย์ (Mortgage loan)20 อย่างไรก็ตาม ตลาดแรงงานยังคงแข็งแกร่งสะท้อนจากอัตราการว่างงานที่ยังอยู่ในระดับต่าต่อเนื่องและจานวนการจ้างงานนอกภาคเกษตร (Nonfarm payroll) ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับใกล้เคียงกับช่วงก่อนการแพร่ระบาด21 ท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เร่งขึ้นและตลาดแรงงานที่ฟื้นตัวได้แข็งแกร่ง ส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ มีแนวโน้มที่จะ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายและลดการเข้าซื้อสินทรัพย์อย่างต่อเนื่อง22 ขณะเดียวกัน รัฐบาลอยู่ระหว่างการเสนอร่างกฎหมายเพื่อลดแรงกดดัน เงินเฟ้อและสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในระยะต่อไป ประกอบด้วย มาตรการ Inflation Reduction Act of 2022 และมาตรการ Chips and Science Act23

4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2565

20 อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพื่ออสังหาริมทรัพย์ (Mortgage loan) ปรับเพิ่มเป็นเฉลี่ยร้อยละ 5.4 ในเดือนกรกฎาคมเทียบกับร้อยละ 3.9 ณ สิ้นปี 2564 ส่งผลให้ดัชนีสถานการณ์ตลาดบ้าน (Housing Market Index) ปรับลดลงไปอยู่ที่ระดับ 55.0 เป็นการลดลงกันต่อเนื่องกันเป็นเดือนที่ 8 และเป็นระดับที่ต่าสุดในรอบ 25 เดือน ส่งผลให้ ภาคอสังหาริมทรัพย์ในช่วงที่ผ่านมาได้รับอานิสงค์จากอัตราดอกเบี้ยที่ต่าจนส่งผลให้ระดับราคาบ้านเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยดัชนีราคาบ้าน (Freddie Mac House Price Index) ในเดือนมิถุนายนเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 281.2 สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ และเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ดังนั้นการปรับตัวเพิ่มของอัตราดอกเบี้ยจึงเป็นความเสี่ยงที่อาจจะส่งผลต่อตลาดอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ในภาวะฟองสบู่เช่นเดียวกับช่วงก่อนหน้าปี 2550

21 อัตราการว่างงานล่าสุดในเดือนมิถุนายน 2565 อยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 3.6 ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 ติดต่อกัน ขณะที่จานวนผู้ถูกจ้างงานนอกภาคเกษตรสะสมในเดือนมิถุนายน 2565 อยู่ที่ 151,980 ล้านคน สูงกว่า 151,789 ล้านคนในเดือนธันวาคม 2562 แต่ยังคงต่ากว่า 152,504 ล้านคนในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ทั้งนี้ หากพิจารณา การเพิ่มขึ้นของจานวนผู้ถูกจ้างงานนอกภาคเกษตรจะเห็นได้ว่าในเดือนมิถุนายน 2565 เพิ่มขึ้น 372,000 ราย ลดลงจาก 384,000 รายในเดือนก่อนและต่ากว่าค่าเฉลี่ยของไตรมาสแรกที่ 538,667 คนต่อเดือน

22 เมื่อวันที่ 26 – 27 กรกฎาคม 2565 ธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.75 เป็นครั้งที่สองต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า เข้าสู่ช่วงร้อยละ 2.25 – 2.50 ซึ่งการปรับขึ้นดังกล่าวนับเป็นการปรับในอัตราที่รวดเร็วที่สุดนับตั้งแต่ปี 2538 ทั้งนี้คาดว่าจะมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องในช่วงที่เหลือของปี โดยในกรณีฐาน คาดว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ณ สิ้นปี 2565 จะอยู่ที่ร้อยละ 3.50 – 3.75

23 มาตรการ Chips and Science Act มูลค่า 280 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เพื่อสนับสนุนให้สหรัฐฯ มีเอกภาพต่อการนาเข้าเซมิคอนดักเตอร์มากขึ้นและสนับสนุนการลงทุนในเทคโนโลยี

เศรษฐกิจยูโรโซน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.6 ในปี 2565 ปรับลดลงจากประมาณครั้งก่อนที่ร้อยละ 2.8 ทั้งนี้แม้ว่าเศรษฐกิจในช่วงครึ่งแรกของปีจะขยายตัวได้ในเกณฑ์ดี แต่คาดว่าในช่วงครึ่งหลังของปี เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากความยืดเยื้อของสถานการณ์ ความขัดแย้งระหว่างยูเครนและรัสเซียซึ่งนาไปสู่การดาเนินมาตรการคว่าบาตรอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการตัดธนาคารพาณิชย์ออกจากระบบธุรกรรมโอนเงินระหว่างประเทศ (SWIFT) และการพยายามลดการนาเข้าน้ามันจากรัสเซียภายในสิ้นปี 2565 ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตจากต้นทุนราคาสินค้านาเข้าที่สูงขึ้น และมีแนวโน้มที่จะส่งผลต่อความมั่นคงทางพลังงานของหลายประเทศในภูมิภาค ขณะเดียวกัน อุปสงค์ภายในประเทศมีข้อจากัดจากแรงกดดันเงินเฟ้อที่สูงขึ้น โดยล่าสุดในเดือนกรกฎาคมอัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 8.9 เป็นระดับสูงสุดในประวัติการณ์ นอกจากนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนกรกฎาคมลดลงมาอยู่ที่ (-27.0) ซึ่งเป็นระดับต่าสุดเป็นประวัติการณ์ เช่นเดียวกับดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการที่ปรับตัวลดลงสู่ระดับต่าสุดในรอบ 15 เดือน 17 เดือน และ 14 เดือนตามลาดับ สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการในเดือนกรกฎาคมที่ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 49.8 และ 51.2 ต่าสุดในรอบ 25 เดือนและ 7 เดือน ตามลาดับ ภายใต้แรงกดดันเงินเฟ้อ ที่สูงขึ้นส่งผลให้ธนาคารกลางยุโรป ในการประชุมเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.50 ซึ่งเป็นการปรับเพิ่มครั้งแรกในรอบ 11 ปี24 อย่างไรก็ดี คาดว่าเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีจะยังได้รับแรงสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งแรงสนับสนุนจากการดาเนินมาตรการทางการคลังขนาดใหญ่ในระยะปานกลางของสหภาพยุโรป25

เศรษฐกิจญี่ปุ่น คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.7 ในปี 2565 เทียบกับร้อยละ 1.7 ในปี 2564 และปรับลดจากร้อยละ 2.2 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นผลเนื่องจากแรงกดดันจากอัตราเงินเฟ้อท่ามกลางแนวโน้มการอ่อนค่าของค่าเงินเยนอย่างต่อเนื่องที่จะส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของ ภาคการผลิตและการบริโภคภายในประเทศ ขณะเดียวกัน อุปสงค์ภายในประเทศยังเผชิญกับข้อจากัดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่กลับมารุนแรงขึ้น โดยข้อมูล ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2565 มีผู้ติดเชื้อรายใหม่สูงสุดเป็นประวัติการณ์อยู่ที่ 230,055 คน โดยเฉพาะในกรุงโตเกียว26 ส่งผลให้ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อภาคบริการเดือนกรกฎาคมลดลงมาอยู่ที่ 50.3 เทียบกับ 54.0 ในเดือนมิถุนายน นอกจากนี้ การดาเนินมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ (Go to travel) ที่เริ่มกลับมามีผลบังคับใช้อีกครั้งตั้งแต่วันที่ 19 พฤศจิกายน 256427 แต่ยังยกเว้นกรุงโตเกียวซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการระบาดรุนแรง จะเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวของภาคบริการท่องเที่ยวขณะที่ภาคการผลิตและการส่งออกมีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากความยืดเยื้อของปัญหาความชะงักงันในห่วงโซ่อุปทานโลก โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในเดือนกรกฎาคมลดลงมาอยู่ที่ระดับ 52.1 ต่าสุดในรอบ 10 เดือน ขณะที่มูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 2.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อน อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังมีปัจจัยสนับสนุนจากการดาเนินนโยบายทางการเงินแบบผ่อนคลายของธนาคารกลางญี่ปุ่น28 รวมทั้งแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายรัฐบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจเพิ่มเติมมูลค่า 56 ล้านล้านเยน และมาตรการช่วยเหลือและเยียวยาผลกระทบของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันดิบมูลค่า 6.2 ล้านล้านเยน29

24 ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินของ ECB เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 0.00 เป็นร้อยละ 0.50 ซึ่งเป็นการปรับเพิ่มครั้งแรกในรอบ 11 ปี และสูงกว่าร้อยละ 0.25 ที่ระบุไว้ในการประชุมเมื่อเดือนมิถุนายน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาระดับเงินเฟ้อเพื่อให้อยู่ในเป้าหมายระยะกลางที่ร้อยละ 2.0 นอกจากนี้ ECB ยังได้ประกาศใช้กลไกเพื่อลดผลกระทบจากการขึ้นอัตราดอกเบี้ย (Transmission Protection Instrument: TPI) ซึ่งส่งผลให้ ECB สามารถเข้าซื้อพันธบัตรจากประเทศที่มีหนี้สินจานวนมาก อาทิ อิตาลี เพื่อป้องกันการเพิ่มขึ้นอย่างฉับพลันของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก นอกจากนี้ คณะกรรมการยังได้มีมติเกี่ยวกับการดาเนินนโยบายการเงินที่สาคัญประกอบด้วย การคงการนาเงินต้นจากสินทรัพย์ที่ ECB เข้าซื้อภายใต้โครงการ Asset Purchase Programme (APP) ที่ได้คืนเมื่อสิ้นสุดระยะไถ่ถอนไปลงทุนใหม่เต็มจานวนเป็นระยะเวลาต่อเนื่อง การคงการนาเงินต้นจากสินทรัพย์จากตามโครงการ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) ที่ถือจนครบกาหนดไปลงทุนใหม่จนถึงอย่างน้อยสิ้นปี 2567 และการดาเนินมาตรการเพื่อเสริมสภาพคล่องโดยการรีไฟแนนซ์ ผ่านมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่าให้แก่ธนาคารพาณิชย์รอบที่ 3 (TLTROs III)

25 มาตรการการคลังที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะยาวของสหภาพยุโรปในช่วงปี 2564 – 2570 วงเงิน 1.2109 ล้านล้านยูโร (2) แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU ในช่วงปี 2564 – 2566 วงเงิน 0.8069 ล้านล้านยูโร (3) โครงการ EU4Health ในช่วงปี 2564 – 2570 วงเงิน 5.75 พันล้านยูโร ที่มุ่งเน้นการยกระดับขีดความสามารถทางสาธารณสุขสาหรับภัยคุกคามทางสาธารณสุขและโรคระบาดในอนาคต และ (4) การช่วยเหลือทางการเงินให้กับประเทศสมาชิก 19 ประเทศในรูปแบบของเงินกู้จากสหภาพยุโรป ภายใต้มาตรการสนับสนุนชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเสี่ยงด้านการว่างงานในกรณีฉุกเฉิน (SURE) มูลค่ารวม 9.44 หมื่นล้านยูโร

26 ล่าสุดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 รัฐบาลได้ประกาศยกระดับการเตือนภัยการระบาดของโควิดในกรุงโตเกียวเป็นระดับสูงสุด จากทั้งหมด 4 ระดับ โดยแนะนาให้ประชาชนระมัดระวังการระบาดระลอกใหม่เป็นพิเศษ สาหรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสฝีดาษลิง รัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศเตือนภัยระดับ 1 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2565 ภายหลังพบผู้ติดเชื้อรายแรกในประเทศ

27 โครงการ Go To Travel ฉบับปรับปรุง ได้มีการปรับปรุงรายละเอียดโครงการเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวเมืองในแถบภูมิภาคและสนับสนุนธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก รวมไปถึง การกระจายรายได้จากการท่องเที่ยวในวันธรรมดา รายละเอียดของงบประมาณได้ปรับลดวงเงินสมทบจากร้อยละ 35 เป็นร้อยละ 30 โดยจากส่วนลดสูงสุด 14,000 เยน สาหรับค้างคืนและ 7,000 เยนสาหรับท่องเที่ยววันเดียว ปรับลดเหลือ 10,000 เยนสาหรับรวมค่าเดินทาง 7,000 เยนสาหรับค้างคืนอย่างเดียว และ 3,000 เยนสาหรับท่องเที่ยววันเดียว คูปองสาหรับท่องเที่ยวแถบภูมิภาคที่สามารถลดได้ร้อยละ 15 ของค่าใช้จ่าย ปรับปรุงส่วนลดเหลือ 3,000 เยนสาหรับวันธรรมดาและ 1,000 เยนสาหรับวันหยุด นอกจากนี้ ยังต้องการผลการฉีดวัคซีนและติดตามการเดินทางเพื่อป้องกันในกรณีที่นักท่องเที่ยวติดเชื้อ นอกจากนี้ ยังมีแผนที่จะลดวงเงินสมทบเหลือร้อยละ 20

28 ในการประชุมเมื่อวันที่ 20 – 21 กรกฎาคม 2565 BOJ มีมติให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ -0.1 และคงเป้าหมายอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว (JGBs) อายุ 10 ปี ที่ร้อยละ 0.0 ทั้งนี้ ธนาคารกลางญี่ปุ่นจะยังคงใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง โดยการดาเนินนโยบาย Qualitative and Quantitative Easing (QQE) และยังคงมาตรการเยียวยาทางการเงินผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ต่อไป

29 การประชุมคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 ได้มีการอนุมัติมาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และนาร่องเข้าสู่ยุคใหม่วงเงินจานวน 56 ล้านล้านเยน จากนั้นในการประชุมเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2565 ได้มีการอนุมัติมาตรการเร่งด่วนเพื่อป้องกันการพุ่งตัวของราคาน้ามันดิบและค่าครองชีพ วงเงิน 6.2 ล้านล้านเยน ประกอบด้วย (1) มาตรการป้องกันการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามัน วงเงิน 1.5 ล้านล้านเยน (2) มาตรการสร้างความมั่นคงทางด้านอุปทานในสินค้าพลังงาน อาหาร และวัตถุดิบ วงเงิน 0.5 ล้านล้านเยน (3) มาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก วงเงิน 1.3 ล้านล้านเยน (4) มาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของค่าครองชีพ วงเงิน 1.3 ล้านล้านเยน และ (5) มาตรการป้องกันความไม่แน่นอนจากการแพร่ระบาดและอื่น ๆ วงเงิน 1.5 ล้านล้านเยน นอกจากนี้เศรษฐกิจยังได้รับแรงสนับสนุนจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2565 (เมษายน 2565 – มีนาคม 2566) วงเงิน 107.6 ล้านล้านเยน เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 จากปีงบประมาณ 2564

เศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3 ในปี 2565 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 8.1 ในปี 2564 และเป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 4.3 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นผลมาจากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวดที่มุ่งเน้นไม่ให้มีผู้ติดเชื้อ (Zero-tolerance Covid-19 policy)30 โดยเฉพาะในพื้นที่เศรษฐกิจสาคัญ ได้แก่ เซี่ยงไฮ้ ปักกิ่ง และเซินเจิ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการหยุดชะงักของกิจกรรมการผลิตและการลดลงของอุปสงค์ภายในประเทศ สะท้อนจากยอดค้าปลีกที่ลดลงร้อยละ 0.7 ในช่วงครึ่งแรกของปี ขณะเดียวกัน การส่งออกของจีนมีแนวโน้มชะลอตัวลงเนื่องจากผลกระทบจากความยืดเยื้อของการหยุดชะงักของห่วงโซ่การผลิต รวมทั้งสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน นอกจากนี้ การลงทุนของจีนยังคงได้รับผลกระทบจากปัญหาการขาดสภาพคล่องและหนี้สินที่อยู่ในระดับสูงของภาคอสังหาริมทรัพย์จีน อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เมืองเซี่ยงไฮ้และเมืองสาคัญอื่น ๆ ในช่วงต้นเดือนมิถุนายน กิจกรรมทางเศรษฐกิจของจีนในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น สะท้อนได้จากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Caixin?s PMI) ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการในเดือนกรกฎาคม ที่ 50.4 และ 55.5 ตามลาดับ และเป็นการอยู่ในระดับสูงกว่า 50 เป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน ทั้งนี้ ภายใต้แนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ส่งผลให้ธนาคารกลางจีนยังดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง31 ควบคู่ไปกับการดาเนินมาตรการเพื่อจากัดความเสียหายใน ภาคอสังหาริมทรัพย์และภาคการเงินของจีน32 โดยเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2565 รัฐบาลจีนได้ตั้งกองทุน 3 แสนล้านหยวน สาหรับช่วยเหลือบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ปัญหาขาดสภาพคล่องและรักษาความน่าเชื่อถือของภาคอสังหาริมทรัพย์ของจีน นอกจากนี้ยังเพิ่มเติมงบประมาณมูลค่า 7.2 ล้านล้านหยวน สาหรับใช้ในการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน

เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) มีแนวโน้มชะลอลงตามการส่งออกเนื่องจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าโดยเฉพาะจีน และส่วนหนึ่งเป็นฐานการขยายตัวที่สูงในปีก่อน อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศยังได้รับแรงสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด ส่งผลให้คาดว่าในปี 2565 เศรษฐกิจของเกาหลีใต้ จะขยายตัวร้อยละ 2.6 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน แต่ชะลอลงจากร้อยละ 4.1 ในปี 2564 ทั้งนี้ จากการเร่งขึ้นของอัตราเงินเฟ้ออย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ธนาคารกลางเกาหลีใต้ในการประชุมเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2565 ได้มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 1.75 เป็นร้อยละ 2.25 เพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อให้กลับสู่ระดับเป้าหมาย ถือเป็นการปรับขึ้นอัตรา ดอกเบี้ยเป็นครั้งที่ 6 นับตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของปี 2564 และเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยสูงสุดในรอบ 94 เดือน ขณะที่เศรษฐกิจสิงคโปร์คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.1 เทียบกับร้อยละ 7.6 และเป็นการปรับเพิ่มจากร้อยละ 3.6 ในการประมาณครั้งก่อน เนื่องจากการฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งของอุปสงค์ภายในประเทศที่ส่งผลให้เศรษฐกิจในครึ่งแรกของปีสูงกว่าที่คาด ส่วนเศรษฐกิจฮ่องกงคาดว่าจะลดลงร้อยละ 0.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 6.3 ในปีก่อนหน้า และเป็นการปรับลดลงจากการขยายตัวร้อยละ 0.3 ในการประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากผลกระทบของมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวดทั้งภายในฮ่องกงและจีน รวมถึงความยืดเยื้อของปัญหาด้านห่วงโซ่อุปทาน ขณะเดียวกัน เศรษฐกิจไต้หวันในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้าและการลงทุนของจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการห้ามส่งออกสินค้าทุนและสินค้าขั้นกลาง ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อภาคการผลิตอุตสาหกรรมและการส่งออกของไต้หวัน ส่งผลให้คาดว่าเศรษฐกิจไต้หวันในปี 2565 มีแนวโน้มที่จะขยายตัว ร้อยละ 2.6 ชะลอลงจากร้อยละ 6.6 ในปี 2564 และเป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 2.8 ในการประมาณการครั้งก่อน

เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเซียน มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและภาคการท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังมีข้อจากัดจากการแนวโน้มการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐฯ ยูโรโซน และจีน ขณะเดียวกัน แรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้นจากราคาพลังงานและอาหารสดที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้ธนาคารกลางมาเลเซียและธนาคารกลางฟิลิปปินส์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่อง33 ทั้งนี้ คาดว่า เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ในปี 2565 มีแนวโน้มขยายตัวร้อยละ 4.8 ร้อยละ 4.8 ร้อยละ 6.4 และร้อยละ 6.5 เทียบกับร้อยละ 3.7 ร้อยละ 3.1 ร้อยละ 5.7 และร้อยละ 2.6 ในปี 2564 ตามลาดับ ซึ่งเป็นการปรับขึ้นจากการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 4.2 ร้อยละ 4.5 ร้อยละ 5.0 และร้อยละ 5.2 โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจในเกณฑ์ดีในช่วงครึ่งแรกของปี ร่างกฎหมาย The Inflation Reduction Act Of 2022

รัฐสภาสหรัฐฯ ได้อนุมัติร่างกฎหมาย The Inflation Reduction Act Of 2022 ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีเป้าหมายเพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อโดยการลดการขาดดุลการคลัง ทางการเพิ่มรายได้ให้กับรัฐบาล อาทิ การเพิ่มอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นร้อยละ 15 สาหรับสาหรับธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีรายได้มากกว่า 1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. การปรับโครงสร้างราคายา (Prescription Drug Pricing Reform) ซึ่งจะทาให้ยาที่ต้องได้รับการสั่งจากแพทย์มีราคาลดลง การเพิ่มงบประมาณให้กับหน่วยตรวจสอบและจัดเก็บภาษี (Internal Revenue Service) เพื่อเพิ่มการตรวจสอบและบังคับใช้การจัดเก็บภาษี และการจัดเก็บภาษีการซื้อคืนหุ้นที่ร้อยละ 1 ขณะเดียวกัน รายได้ของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวจะนาไปลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานและการส่งเสริมการใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการลงทุนเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นอกจากนี้ยังเพิ่มงบประมาณให้กับมาตรการ Affordable Care Act อีกด้วย ซึ่งคาดว่าจะช่วยลดการขาดดุลการคลังได้ประมาณ 3.06 แสนล้านดอลลาร์ สรอ. โดยความคืบหน้าล่าสุด วุฒิสภาสหรัฐฯ ได้มีมติเห็นชอบร่างกฎหมายดังกล่าวไปเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2565 และสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ ได้มีมติเห็นชอบไปเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2565 โดยจะส่งให้ประธานาธิบดีลงนามในการบังคับใช้ต่อไป

5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2565

เศรษฐกิจไทยในครึ่งหลังของปี 2565 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากครึ่งปีแรก โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการเร่งตัวขึ้นของการบริโภคภาคเอกชน และจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในขณะที่การส่งออกสินค้ามีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของภาคการผลิต โดยเฉพาะ การผลิตภาคบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวและภาคการเกษตร อย่างไรก็ตาม ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงท่ามกลางแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของภาระดอกเบี้ย รวมทั้งความผันผวนของเศรษฐกิจโลกและราคาพลังงาน สถานการณ์อุทกภัย และการระบาดของไวรัสและฝีดาษลิง ยังเป็นข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยงที่อาจทาให้เศรษฐกิจไทยทั้งปีขยายตัวต่ากว่าการคาดการณ์ ซึ่งจะต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด

5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2565

1) การขยายตัวในเกณฑ์ดีของการบริโภคภายในประเทศ ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดและความคืบหน้าของการกระจายวัคซีนโดยเฉพาะเข็มกระตุ้น34 ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการจับจ่ายใช้สอยภายในประเทศมีแนวโน้มฟื้นตัวและกลับมาเป็นปกติมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นของฐานรายได้ของครัวเรือนและภาคธุรกิจโดยเฉพาะรายได้ในภาคเกษตรกรรมและภาคท่องเที่ยวที่ขยายตัวในเกณฑ์ดี รวมทั้งการปรับตัวดีขึ้นของตลาดแรงงาน สะท้อนจากอัตราการว่างงานที่ลดลงต่อเนื่อง โดยในไตรมาสที่สองอยู่ที่ร้อยละ 1.37 ลดลงจากร้อยละ 1.53 ในไตรมาสก่อน ขณะที่จานวนผู้ประกันตนที่ขอสิทธิประโยชน์กรณีว่างงานภายใต้มาตรา 33 ในเดือนมิถุนายน 2565 อยู่ที่ 245,000 คน ลดลงจาก 307,883 คน และ 395,693 คนในช่วงเดียวกันของปี 2564 และ 2563 ตามลาดับ

2) การปรับตัวดีขึ้นของภาคการท่องเที่ยว ตามการผ่อนคลายมาตรการจากัดการเดินทางระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการยกเลิกระบบการลงทะเบียน Thailand Pass สาหรับผู้ที่เดินทางเข้าประเทศตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 ประกอบกับการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการเดินทางเข้าประเทศของประเทศต้นทางสาคัญ35 และการเปิดด่านทางบกของไทย36 ส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยในเดือนกรกฎาคม 2565 มีจานวน 1,070,353 คน ส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติสะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมถึง 31 กรกฎาคม 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 3,150,303 คน เทียบกับสะสมทั้งปี 2564 ที่ 416,160 คน โดยนักท่องเที่ยวสัญชาติที่เดินทางเข้ามาสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม และสหรัฐฯ ตามลาดับ ทั้งนี้ คาดว่าในช่วงที่เหลือของปี โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสสุดท้าย ซึ่งเป็นช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว (High season) ประกอบกับแนวโน้มการผ่อนคลายการเดินทางระหว่างประเทศของประเทศต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมายังประเทศไทยเพิ่มสูงขึ้นเป็นลาดับ นอกจากนี้ การท่องเที่ยวภายในประเทศยังมีแนวโน้มที่จะได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด รวมทั้งการดาเนินมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง

3) การขยายตัวในเกณฑ์ดีของภาคการเกษตร ในช่วงครึ่งแรกของปี 2565 การผลิตภาคเกษตรขยายตัวร้อยละ 9.8 เทียบกับร้อยละ 6.3 ในปี 2564 ตามการขยายตัวของผลผลิตหมวดพืชผลที่สาคัญ ได้แก่ ข้าวเปลือก อ้อย ถั่วเหลือง และผลไม้ ขณะเดียวกันราคาสินค้าเกษตรขยายตัวได้สูงตามการเพิ่มขึ้นของราคาในตลาดโลก โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น อาทิ อ้อย มันสาปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางแผ่นดิบ ปาล์มน้ามัน และ มันสาปะหลัง การเพิ่มขึ้นของทั้งผลผลิตและราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้รายได้เกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.2 ในช่วงครึ่งแรกของปี 2565 เทียบกับร้อยละ 2.2 นอกจากนี้ คาดว่าในช่วงที่เหลือของปี 2565 ผลผลิตภาคเกษตรมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่องตามสภาพอากาศที่เอื้ออานวยและปริมาณน้าสาหรับการเกษตรที่เพียงพอต่อการเพาะปลูก โดยข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2565 ปริมาณน้าใช้การได้ในเขื่อนหลักลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา (เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยบารุงแดน และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์) อยู่ที่ระดับ 3,899 ล้านลูกบาศก์เมตร สูงกว่าในช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 205.8

34 อัตราการได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้นของประเทศไทยในวันที่ 10 สิงหาคม 2565 อยู่ที่ร้อยละ 45.0 ต่อประชากร เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 33.5 ในวันที่ 1 เมษายน 2565

35 รัฐบาลอินเดียได้ยกเลิกมาตรการกักตัวผู้ที่เดินทางเข้าประเทศตั้งแต่ 27 มีนาคม 2565 ในขณะที่รัฐบาลมาเลเซียและสิงคโปร์ยกเลิกมาตรการกักตัวผู้ที่เดินทางเข้าประเทศตั้งแต่ 1 เมษายน 2565

36 ในเดือนกรกฎาคม 2565 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางผ่านด่านทางบกมีจานวนทั้งสิ้น 321,106 คน เพิ่มขึ้นจาก 133,114 คน ในเดือนมิถุนายน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 141.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า (%MoM) โดยจาแนกเป็นนักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซีย ลาว และกัมพูชาจานวน 170,092 คน 48,508 คน และ 24,713 คน เทียบกับเดือนมิถุนายนที่มีจานวน 75,551 คน 18,579 คน และ 9,840 คน ตามลาดับ

37 การห้ามนาเข้าสินค้าจากไต้หวัน อาทิ ผลไม้ตระกูลส้ม อาหารทะเล และอาหารอื่น ๆ และการห้ามส่งออกสินค้าไปไต้หวัน ได้แก่ ทรายธรรมชาติ ซึ่งเป็นวัตถุดิบสาคัญในการผลิต เซมิคอนดักเตอร์

ปัจจัยสนับสนุน

ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง

1) ความเสี่ยงจากการชะลอตัวมากกว่าที่คาดของเศรษฐกิจโลกและความผันผวนในตลาดการเงินโลก โดยมีเงื่อนไขความเสี่ยงที่ต้องติดตามและประเมินอย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่สาคัญ ได้แก่ (i) ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยังคงมีแนวโน้มยืดเยื้อ และอาจนาไปสู่การดาเนินมาตรการคว่าบาตรต่อรัสเซียและมาตรการตอบโต้เพิ่มเติม โดยเฉพาะ หากนาไปสู่การระงับการนาเข้าก๊าซธรรมชาติอย่างฉับพลันซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางพลังงานของหลายประเทศในภูมิภาคยุโรป ที่พึ่งพิงพลังงานจากรัสเซียในสัดส่วนที่สูง และ (ii) ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ และจีน กรณีประเด็นไต้หวันที่ยังมีความไม่แน่นอนและอาจ ทวีความรุนแรง จนนาไปสู่การดาเนินมาตรการทางทหาร ควบคู่ไปกับมาตรการกีดกันทางการค้าและการลงทุนต่อไต้หวัน และระหว่างทั้งสองประเทศ ที่รุนแรงมากขึ้น37 ซึ่งอาจส่งผลกระทบซ้าเติมต่อปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบสาคัญและการหยุดชะงักของห่วงโซ่การผลิตโลก (2) แนวโน้มการดาเนินนโยบายทางการเงินเข้มงวดโดยการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่แรงและเร็วของธนาคารกลางประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะธนาคารกลางสหรัฐฯ เพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่อาจสูงมากกว่าที่คาดการณ์ จนอาจส่งผลให้เกิดการชะลอตัวของเศรษฐกิจอย่างรุนแรงและมีความเสี่ยงที่จะเข้าสู่ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจมากขึ้น ขณะเดียวกัน ยังมีแนวโน้มที่จะเพิ่มความเสี่ยงจากความผันผวน ในตลาดเงิน ตลาดทุนและอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อกลุ่มประเทศที่เศรษฐกิจเปราะบางและยังฟื้นตัวไม่เต็มที่จากการ

แพร่ระบาดของโควิด-19 โดยเฉพาะประเทศที่มีระดับหนี้สินเป็นสกุลเงินต่างประเทศในสัดส่วนที่สูง และ (3) การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน

เนื่องจากการดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดแบบเข้มงวดในพื้นที่เศรษฐกิจสาคัญที่อาจซ้าเติมปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่การผลิตโลก

และระบบโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ รวมทั้งปัญหาหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ยังคงยืดเยื้อที่จะส่งผลต่อการฟื้นตัวของการลงทุนและ

ความเสี่ยงของเสถียรภาพทางการเงินของจีน

2) ภาระหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงท่ามกลางแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของภาระดอกเบี้ย และแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่สูง โดย

ในภาคธุรกิจสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loans: NPLs) และสัดส่วนสินเชื่อจัดชั้นกล่าวถึงพิเศษ (Special Mention

Loans: SMLs) ต่อสินเชื่อรวมของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในไตรมาสที่หนึ่งของปี 2565 ยังคงอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 7.5 กับ

ร้อยละ 11.7 สูงขึ้นเมื่อเทียบกับร้อยละ 4.7 และร้อยละ 3.1 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ตามลาดับ เช่นเดียวกับสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP

ในไตรมาสแรกของปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 89.2 เทียบกับร้อยละ 78.4 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ทั้งนี้ ภาระหนี้สินของภาคธุรกิจและ

ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูงจะเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวทั้งของอุปสงค์ภายในประเทศและความสามารถในการชาระหนี้ภายใต้อัตราดอกเบี้ยขาขึ้น

ในระยะต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจ SMEs และครัวเรือนรายได้น้อย ขณะเดียวกัน ตลาดแรงงานยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่เมื่อเทียบกับช่วง

ก่อนการระบาด สะท้อนจากอัตราการว่างงานในไตรมาสที่สองของปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 1.37 แม้จะลดลงจากร้อยละ 1.53 ในไตรมาสก่อนหน้า

แต่ยังคงสูงกว่าร้อยละ 0.98 ในไตรมาสที่สองของปี 2562 นอกจากนี้ การเร่งตัวขึ้นของอัตราเงินเฟ้อส่งผลให้อัตราค่าจ้างที่แท้จริงยังต่ากว่า

ช่วงก่อนหน้าการแพร่ระบาด โดยในไตรมาสที่ 2 ของปี 2565 ค่าจ้างที่แท้จริงของแรงงานลดลงร้อยละ 1.4 เมื่อเทียบกับปี 256238

3) ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และการระบาดของโรคฝีดาษลิง (Monkeypox) ภายหลังจากที่องค์การ

อนามัยโลก (WHO) ประกาศให้การแพร่ระบาดของโรคฝีดาษลิงเป็นภาวะฉุกเฉิน เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2565 โดยข้อมูลล่าสุดเมื่อวันที่

11 สิงหาคม 2565 มีรายงานจานวนผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อฝีดาษลิงรวม 32,373 ราย และมีการระบาดของโรคฝีดาษลิงแล้วใน 85 ประเทศ39

โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรป โดยมีจานวนผู้เสียชีวิต 10 ราย ขณะที่ไทยรายงานเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2565 พบผู้ติดเชื้อยืนยันแล้วจานวน 4 ราย

ทั้งนี้ ความเสี่ยงจากการระบาดมีแนวโน้มที่จะรุนแรงเพิ่มขึ้นได้หากกลายเป็นเชื้อก่อโรคในมนุษย์ (Human Pathogen) และแพร่เชื้อไปยัง

กลุ่มคนที่มีความเสี่ยงป่วยหนัก อาทิ เด็กเล็กและผู้ที่มีภูมิต้านทานต่า40 ซึ่งยังต้องติดตามอย่างใกล้ชิด

4) ความเสี่ยงจากสถานการณ์อุทกภัย แม้ว่าสถานการณ์น้าในเขื่อนและอ่างเก็บน้าที่อยู่ในระดับสูงจะเป็นปัจจัยสนับสนุนสาหรับภาคการเกษตร

อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความเสี่ยงที่จะเกิดพายุในช่วงปลายฤดูฝนซึ่งอาจนาไปสู่สถานการณ์อุทกภัยจนอาจส่งผลกระทบในพื้นที่การเกษตร

พื้นที่อุตสาหกรรม รวมถึงที่อยู่อาศัยของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบจากปรากฏการณ์ลานีญ่า ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาถึงปริมาณน้าฝน

ณ วันที่ 1 มกราคม – 7 สิงหาคม 2565 อยู่ที่ระดับ 1,043.5 มิลลิเมตร พบว่าอยู่ในระดับสูงกว่าค่าปกติร้อยละ 2541 จึงยังมีความจาเป็นที่

จะต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด

Economic Outlook

สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ-จีน ต่อกรณีไต้หวันและการส่งผ่านผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย

สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ และจีน เริ่มส่งสัญญาณรุนแรงมากขึ้นภายหลังจากประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ เดินทางเยือนไต้หวันในช่วงวันที่ 2 – 3 สิงหาคม 2565 ส่งผลให้จีนประกาศมาตรการเพื่อตอบโต้สหรัฐฯ ทันที 8 ประการ ได้แก่ (1) ยกเลิกการเจรจาระหว่างผู้บัญชาการภาคพื้นปฏิบัติการสงครามระหว่างจีน-สหรัฐฯ (2) ยกเลิกการเจรจาประสานนโยบายระหว่างกระทรวงกลาโหมจีน-สหรัฐฯ (3) ยกเลิกการประชุมตามกลไกปรึกษาหารือเพื่อความมั่นคงด้านการทหารทางทะเลระหว่างจีน-สหรัฐฯ (4) ระงับความร่วมมือจีน-สหรัฐฯ ในการส่งตัวผู้อพยพผิดกฎหมายกลับประเทศ (5) ระงับความร่วมมือจีน-สหรัฐฯ ด้านความช่วยเหลือทางกฎหมายในคดีอาญา (6) ระงับความร่วมมือจีน-สหรัฐฯ ในการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติ (7) ระงับความร่วมมือจีน-สหรัฐฯ ด้านการปราบปรามยาเสพติด และ (8) ระงับการเสวนาระหว่างจีน-สหรัฐฯ ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงการคว่าบาตรนางแนนซี่ เปโลซีและครอบครัวด้วย นอกจากนี้ จีนยังประกาศมาตรการตอบโต้ไต้หวัน ที่สาคัญ ได้แก่ การประกาศซ้อมรบทางทะเลต่อเนื่องไปอีก 1 เดือนตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม – 8 กันยายน 2565 ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการขนส่งทางเรือของประเทศต่าง ๆ ที่สินค้าเข้าและสินค้าออกจากไต้หวัน รวมถึงการคว่าบาตรทางการค้าหลายรายการ เช่น การระงับการส่งออกทรายธรรมชาติไปยังไต้หวันซึ่งเป็นวัตถุดิบสาคัญต่อการก่อสร้างและผสมคอนกรีต รวมถึงการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ หรือชิปคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกสาคัญของไต้หวันโดยครองส่วนแบ่งการตลาดมากกว่าร้อยละ 70 ของทั่วโลก และมีจีนเป็นผู้นาเข้าสาคัญ รวมทั้งการระงับการนาเข้าจากไต้หวันหลายรายการ เช่น การระงับการนาเข้าผลไม้และปลา ขนมบิสกิตและขนมอบ น้ามันสาหรับปรุงอาหาร บะหมี่กึ่งสาเร็จรูปและซอสถั่วเหลือง โดยข้อมูลในปี 2564 พบว่ามูลค่าการส่งออกไปยังจีนของไต้หวันอยู่ที่ 133,109.5 ล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นร้อยละ 28.4 ของการส่งออกของไต้หวันทั้งหมด หรือเฉลี่ยเดือนละ 11,813.5 ล้านดอลลาร์ สรอ. ซึ่งหากความขัดแย้งระหว่างจีนและไต้หวันทวีความรุนแรงมากขึ้น ก็จะส่งผลกระทบต่อการผลิต การส่งออก และเศรษฐกิจโดยรวมของไต้หวันอย่างรุนแรงขึ้นตามลาดับ และมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังห่วงโซ่อุปทานที่สาคัญของโลกโดยเฉพาะสินค้าที่ไต้หวันมีส่วนแบ่งตลาดสูง ทั้งนี้ ในส่วนของเศรษฐกิจไทย คาดว่าผลกระทบจากความขัดแย้งดังกล่าว จะส่งผลผ่าน 4 ช่องทางสาคัญ ได้แก่

1) ช่องทางด้านการขนส่งสินค้าและระบบโลจิสติกส์ ในกรณีที่มีการปิดล้อมน่านน้าของไต้หวันทาให้เกิดข้อจากัดด้านการขนส่ง และจะส่งผลกระทบต่อการส่งออกไทยไปไต้หวันให้มีแนวโน้มลดลง โดยมูลค่าการส่งออกของไทยไปยังไต้หวันในปี 2564 อยู่ที่ 4,673 ล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นร้อยละ 1.7 ของการส่งออกสินค้าของไทยทั้งหมด และถือเป็นคู่ค้าอันดับที่ 10 ของไทย โดยมีสินค้าส่งออกสาคัญ เช่น แผงวงจรไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ เป็นต้น

2) ช่องทางด้านห่วงโซ่อุปทาน โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าวัตถุดิบสาคัญที่ไทยต้องนาเข้าจากไต้หวัน ได้แก่ แผงวงจรไฟฟ้าที่จะต้องนามาผลิตสินค้าเกี่ยวเนื่องกับอิเล็กทรอนิกส์ โดยมูลค่าการนาเข้ารวมของไทยจากไต้หวันในปี 2564 อยู่ที่ 10,513 ล้านดอลลาร์ สรอ. สินค้าอันดับหนึ่งที่ไทยนาเข้าจากไต้หวัน คือ แผงวงจรไฟฟ้า โดยมีมูลค่านาเข้าอยู่ที่ 4,616 ล้านดอลลาร์ สรอ. คิดเป็นร้อยละ 43.9 ของมูลค่าการนาเข้าจากไต้หวันทั้งหมด และคิดเป็น ร้อยละ 30.5 ของมูลค่าการนาเข้าแผงวงจรไฟฟ้าทั้งหมดของไทย ซึ่งหากเกิดปัญหาทาให้การนาเข้าแผงวงจรไฟฟ้ามีปัญหา จะทาให้ห่วงโซ่การผลิตสินค้าที่จะต้องใช้แผงวงจรไฟฟ้าเป็นหลักในกระบวนการผลิต เช่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ประเภทต่าง ๆ ของไทย ได้รับผลกระทบและ เกิดการหยุดชะงักด้านการผลิต

3) ช่องทางด้านแรงงาน เนื่องจากไต้หวันเป็นปลายทางที่คนไทยเลือกเดินทางไปทางานสูงสุดเป็นอันดับแรก โดยมีแรงงานไทยที่ทางานในไต้หวันอยู่ที่ 48,542 คน รองลงมาเป็นประเทศอิสราเอล (20,555 คน) เกาหลีใต้ (12,950 คน) ญี่ปุ่น (7,665 คน) และสวีเดน (6,680 คน) ตามลาดับ ซึ่งความขัดแย้งระหว่างจีนและไต้หวันอาจจะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของแรงงานไทยในไต้หวัน

4) ช่องทางด้านการท่องเที่ยว ข้อมูลนักท่องเที่ยวจากไต้หวันมายังไทยช่วง 6 เดือนแรกของปี 2565 อยู่ที่ 8,060 คนคิดเป็นร้อยละ 0.4 ของจานวนนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศทั้งหมดและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นหากไม่เกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างจีนและไต้หวัน ซึ่งหากความขัดแย้งดังกล่าวส่งผลต่อการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจของไต้หวันและความไม่สะดวกในการเดินทางออกจากไต้หวัน อาจจะทาให้นักท่องเที่ยวจากไต้หวันมายังไทยใน ช่วงที่เหลือของปี 2565 ลดลง

ภายใต้ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ความขัดแย้งของประเทศคู่ค้าสาคัญของไทย จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ไทยต้องติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดและเตรียมความพร้อมในการรับมือในกรณีหากมีการยกระดับความรุนแรงมากขึ้น โดยในส่วนของเศรษฐกิจ ไม่เพียงแต่การเตรียมการเพื่อบรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น แต่ยังจาเป็นต้องดาเนินมาตรการสนับสนุนเพื่อพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส โดยเฉพาะอย่างยิ่งประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศโดยใช้โอกาสในการส่งเสริมการส่งออกสินค้าที่ไทยมีศักยภาพไปยังประเทศที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งและการกีดกันทางการค้า อาทิ การเจรจาเพื่อส่งออกสินค้าไปจีนเพื่อทดแทนสินค้าที่เคยนาเข้าจากไต้หวัน เป็นต้น

1) เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3 และร้อยละ 4.3 ตามลาดับ ชะลอลงจากร้อยละ 5.3 และร้อยละ 10.1 ในปี 2564 และเป็นการปรับลดจากร้อยละ 3.5 และร้อยละ 4.7 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับลดประมาณการ การขยายตัวของเศรษฐกิจหลัก โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ ยูโรโซน และจีน ที่ขยายตัวต่ากว่าประมาณการเดิมในช่วงไตรมาสที่สอง และมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับข้อจากัดของการขยายตัวในช่วงที่เหลือของปีมากขึ้น เนื่องจากความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนและความไม่แน่นอนของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐฯ และจีน ที่อาจส่งผลกระทบซ้าเติมปัญหาห่วงโซ่อุปทานโลก รวมทั้ง การปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสาคัญ ๆ เพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนที่ยังคงมีข้อจากัดจากการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวด และปัญหาหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์

2) ค่าเงินบาทในปี 2565 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 34.5 – 35.5 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจากเฉลี่ย 32.0 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในปี 2564 และอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับ 33.3 – 34.3 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นการปรับสมมติฐานเพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลค่าเงินบาทในช่วง 7 เดือนแรกของปี ซึ่งอยู่ที่เฉลี่ย 34.2 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. สอดคล้องกับแนวโน้มการแข็งค่าของค่าเงินดอลลาร์ สรอ. (US Dollar trade weighted index) ตามการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ รวมถึงแนวโน้มการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจโลกที่ส่งผลให้นักลงทุนมีการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนไปยังสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ามากขึ้น นอกจากนี้ การอ่อนค่าของเงินบาท ยังเป็นผลมาจากแนวโน้มการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดตามมูลค่านาเข้าที่สูงขึ้นเนื่องจากราคาพลังงานที่เร่งตัวขึ้น อย่างไรก็ตาม ค่าเงินบาทในช่วง ที่เหลือของปี 2565 มีแนวโน้มที่จะแข็งค่าขึ้นอย่างช้า ๆ ตามการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวต่างชาติซึ่งจะส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยปรับตัว ดีขึ้นตามลาดับ

3) ราคาน้ามันดิบดูไบเ ลี่ยในปี 2565 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 95.0 – 105.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ย 69.5 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในปี 2564 และเท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับราคาน้ามันเฉลี่ยตั้งแต่ 1 มกราคมถึง 10 สิงหาคมที่ระดับ 101.8 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล โดยราคาน้ามันมีแนวโน้มที่จะผ่านพ้นช่วงสูงสุดในไตรมาสที่ 2 ที่เฉลี่ย 108.5 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ก่อนที่จะเริ่มปรับตัวลดลงมาอยู่ที่เฉลี่ย 103.2 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในเดือนกรกฎาคมและลดลงอย่างต่อเนื่องมาอยู่ที่ 96.2 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในช่วง 1 – 10 สิงหาคม ซึ่งอยู่ในระดับใกล้เคียงกับ 92.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ซึ่งเป็นช่วงก่อนหน้าการเกิดสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน เนื่องจากความกังวลต่อแนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะเศรษฐกิจหลัก ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของจานวนแท่นขุดเจาะน้ามันทั่วโลก42 ควบคู่ไปกับการเร่งระบายน้ามันดิบออกจากคลังน้ามันสารองของสหรัฐฯ และชาติพันธมิตร รวมถึงการผ่อนคลายการคว่าบาตรต่อเวเนซูเอล่าของสหรัฐฯ อย่างไรก็ตามคาดว่าราคาน้ามันในไตรมาสสุดท้ายของปีจะปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยตามความต้องการใช้น้ามันในช่วงหน้าหนาว ท่ามกลางแนวโน้มการเพิ่มกาลังการผลิตของกลุ่ม OPEC+ ในอัตราที่ชะลอลง43

4) ราคาสินค้าส่งออกและราคาสินค้านาเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. ในปี 2565 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 – 5.0 และร้อยละ 8.5 – 9.5 ตามลาดับ เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.3 และร้อยละ 5.2 ในปี 2564 ตามลาดับ และเป็นการปรับเพิ่มจากร้อยละ 3.3 – 4.3 และร้อยละ 7.0 – 8.0 ในสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อน ตามลาดับ สอดคล้องกับราคาเฉลี่ยในช่วงครึ่งแรกของปีที่สูงขึ้นเร็วกว่า การประมาณการเดิม โดยเป็นผลจากแนวโน้มราคาสินค้าโภคภัณฑ์และวัตถุดิบในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากความยืดเยื้อของสถานการณ์ ความขัดแย้งระหว่างยูเครนและรัสเซีย รวมถึงปัญหาการชะงักงันของห่วงโซ่อุปทานโลกที่ยังส่งผลให้ต้นทุนการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศยังคงอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง 5) รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2565 คาดว่าจะอยู่ที่ 0.66 ล้านล้านบาท และมีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติรวม 9.5 ล้านคน เพิ่มขึ้นจาก 0.15 ล้านล้านบาท และ 4.3 แสนคนในปี 2564 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจาก 0.57 ล้านล้านบาท และ 7 ล้านคนในสมมติฐาน การประมาณการครั้งก่อน เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะภายหลังการผ่อนปรนการเดินทาง เข้าประเทศ การเปิดด่านชายแดน และการผ่อนคลายมาตรการจากัดการเดินทางระหว่างประเทศของประเทศต้นทางนักท่องเที่ยว ที่สาคัญ ส่งผลให้นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในช่วงเดือนกรกฎาคมมีจานวนรวม 1,070,353 คน คิดเป็นเฉลี่ยวันละ 34,528 คน เทียบกับเฉลี่ยวันละ 5,230 คน และ 17,387 คน ในช่วงไตรมาสแรกและไตรมาสที่สอง และส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวสะสมนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2565 อยู่ที่ 3.2 ล้านคน ทั้งนี้ คาดว่าในช่วงที่เหลือของปีจะมีจานวนนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามามากขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะในช่วงไตรมาสสุดท้ายซึ่งเป็นช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว

6) การเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2565 ร้อยละ 92.5 ของงบประมาณทั้งหมด เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน โดยแบ่งเป็นอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 98.0 และร้อยละ 70.0 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับร้อยละ 72.5 และร้อยละ 70.9 ในปีงบประมาณก่อนหน้า สอดคล้องกับอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนสะสมในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2565 ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 79.0 และร้อยละ 49.1 ตามลาดับ (2) อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีอยู่ที่ร้อยละ 82.9 เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับร้อยละ 91.1 ในปีงบประมาณ 2564 สอดคล้องกับอัตราการเบิกจ่ายสะสมในช่วง 3 ไตรมาสแรกที่ร้อยละ 69.1 (3) อัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจร้อยละ 65.0 ของวงเงินงบประมาณ คิดเป็น วงเงินลงทุนประมาณ 3.05 แสนล้านบาท โดยเป็นการปรับลดจากสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 70.0 (4) การใช้เงินภายใต้ พระราชกาหนดเงินกู้ฯ 1 ล้านล้านบาท ซึ่งมีการเบิกจ่ายสะสม ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2565 รวม 9.50 แสนล้านบาท (ร้อยละ 95.0 ของวงเงินกู้) และคาดว่าจะมีการเบิกจ่ายครบวงเงินกู้ภายในสิ้นปีงบประมาณ 2565 และ (5) การใช้เงินภายใต้พระราชกาหนดเงินกู้ฯ เพิ่มเติม พ.ศ. 2564 วงเงิน 5 แสนล้านบาท ซึ่งมีการเบิกจ่าย สะสม ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2565 รวม 3.76 แสนล้านบาท (ร้อยละ 75.3 ของวงเงินกู้) คาดว่าจะมีการเบิกจ่ายเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจในปีงบประมาณ 2565 รวม 4.2 แสนล้านบาท (ร้อยละ 84.0 ของวงเงินกู้) เพิ่มขึ้นจาก 3.9 แสนล้านบาท ในการประมาณการครั้งก่อน

ประมาณการเศรษฐกิจปี 2565

เศรษฐกิจมีแนวโน้มขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.7 – 3.2 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 3.0) ปรับตัวดีขึ้นจากร้อยละ 1.5 ในปี 2564 สาหรับอัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 6.3 ? 6.8 และดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลร้อยละ 1.6 ของ GDP เทียบกับการขาดดุลร้อยละ 2.1 ในปี 2564

ในการแถลงข่าววันที่ 15 สิงหาคม 2565 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.7 ? 3.2 โดยมีค่ากลางการประมาณการอยู่ที่ร้อยละ 3.0 เท่ากับการประมาณครั้งที่ผ่านมา ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.5 ในปี 2564 และเป็นการปรับช่วงประมาณการให้แคบลงจากร้อยละ 2.5 ? 3.5 ในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 โดยมีการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบ การขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับเงื่อนไขและการปรับเปลี่ยนสมมติฐานประมาณการที่สาคัญ ดังนี้

1) การปรับสมมติฐานเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก ตามแนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐฯ ยูโรโซน ญี่ปุ่น และจีน ที่เร็วกว่าการประมาณการครั้งที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลจากการปรับทิศทางนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่ทาให้ราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ปรับตัวเพิ่มขึ้น และซ้าเติมข้อจากัดในห่วงโซ่อุปทานโลกให้มีความรุนแรงมากขึ้น รวมทั้งเศรษฐกิจจีนที่ประสบปัญหาการระบาดของโรคโควิด-19 และส่งผลกระทบรุนแรงต่อเศรษฐกิจในไตรมาสที่สอง ทั้งในด้านการผลิต การขนส่งของจีน และส่งผลกระทบเพิ่มเติมต่อห่วงโซ่อุปทานโลก ภายใต้เงื่อนไขข้อจากัดดังกล่าวคาดว่าเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก ในปี 2565 จะขยายตัวร้อยละ 3.3 และ ร้อยละ 4.3 ปรับลดลงจากร้อยละ 3.5 และร้อยละ 4.7 ในการประมาณการครั้งก่อน ซึ่งจะเป็นปัจจัย ที่ส่งผลให้การส่งออก การลงทุนภาคเอกชน และการผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทยขยายตัวต่ากว่าที่คาดการณ์

2) การปรับสมมติฐานจานวนและรายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ ให้สอดคล้องกับข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วง 7 เดือนแรกที่ฟื้นตัวเร็วกว่าการคาดการณ์ โดยในช่วงวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 กรกฎาคม 2565 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติรวมทั้งสิ้น 3,150,303 คน โดยในเดือนกรกฎาคม มีจานวน 1,070,353 คน (เฉลี่ยวันละ 34,528 คน) เทียบกับ 767,497 คน (เฉลี่ยวันละ 25,583 คน) ในเดือนมิถุนายน และล่าสุดข้อมูลในช่วงระหว่างวันที่ 1 – 6 สิงหาคม 2565 มีจานวน 228,438 คน (เฉลี่ยวันละ 38,073 คน) โดยเป็นผลเนื่องจากการผ่อนปรนมาตรการการเดินทาง เข้าประเทศ44 รวมทั้งการเปิดด่านชายแดน และการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการเดินทางเข้าออกประเทศของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาค ได้แก่ มาเลเซีย อินเดีย สิงคโปร์ เวียดนาม และลาว ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวจะส่งผลให้แรงขับเคลื่อนจากภาคส่งออกบริการ รวมถึงภาคบริการที่เกี่ยวเนื่องกับกับการท่องเที่ยวให้ขยายตัว ได้สูงกว่าประมาณการเดิม องค์ประกอบของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค (1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.4 ปรับตัวดีขึ้นจากร้อยละ 0.3 ในปี 2564 และเป็นการปรับเพิ่มจากร้อยละ 3.9 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นผลจากการขยายตัวของการบริโภคในช่วงครึ่งแรกของปี ที่สูงกว่าประมาณการเป็นสาคัญ และยังมีแนวโน้มขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่องในช่วงครึ่งปีหลังตามฐานรายได้ในระบบเศรษฐกิจที่ปรับตัวดีขึ้น และมาตรการสนับสนุนการใช้จ่ายภายในประเทศของภาครัฐ และ (2) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคภาครัฐบาล คาดว่าจะลดลงร้อยละ 0.2 เทียบกับ การขยายตัวร้อยละ 3.2 ในปี 2564 และเท่ากับการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการคงสมมติฐานอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2565 ร้อยละ 98 ของวงเงินงบประมาณ รวมทั้งการเบิกจ่ายภายใต้แผนงานและโครงการที่ได้รับ การอนุมัติภายใต้พระราชกาหนดเงินกู้ฯ เพิ่มเติม พ.ศ. 2564 วงเงิน 5 แสนล้านบาท

2) การลงทุนรวม คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8 เทียบกับร้อยละ 3.4 ในปี 2564 และเป็นการปรับลดจากการขยายตัวร้อยละ 3.5 ในประมาณการ ครั้งก่อน โดย (1) การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.1 เทียบกับร้อยละ 3.3 ในปี 2564 และปรับลดจากร้อยละ 3.5 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการปรับลดประมาณการการส่งออก และแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวลงเร็วกว่าสมมติฐาน การประมาณการครั้งที่ผ่านมา และ (2) การลงทุนภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.0 เทียบกับร้อยละ 3.8 ในปี 2564 และปรับลดลงจาก ร้อยละ 3.4 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมาตามอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในช่วงสามไตรมาสแรกของปีงบประมาณที่ยังอยู่ในระดับต่ากว่าในช่วงเดียวกันของปีก่อน และการปรับลดประมาณการอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ

3) มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.9 เทียบกับร้อยละ 19.2 ในปี 2564 และปรับเพิ่มจากร้อยละ 7.3 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับเพิ่มสมมติฐานราคาส่งออกจากเดิมร้อยละ 3.3 – 4.3 ในการประมาณการครั้งก่อนเป็นร้อยละ 4.0 – 5.0 ในการประมาณการครั้งนี้ ในขณะที่ปรับลดประมาณการปริมาณการส่งออกสินค้าจากการขยายตัวร้อยละ 3.5 ในการประมาณการครั้งก่อน เป็นร้อยละ 3.4 ในการประมาณการครั้งนี้ ตามการปรับลดสมมติฐานการขยายตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก เมื่อรวมกับการปรับเพิ่มปริมาณการส่งออกบริการตามการปรับเพิ่มสมมติฐานจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ทาให้ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2565 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 9.0 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 8.3 ในการประมาณการครั้งก่อน และร้อยละ 10.4 ในปี 2564

4) มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 12.4 เทียบกับร้อยละ 23.9 ในปี 2564 และปรับเพิ่มจากร้อยละ 10.9 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยเป็นผลมาจากการปรับเพิ่มสมมติฐานราคานาเข้าจากร้อยละ 7.0 – 8.0 ในการประมาณการครั้งก่อน เป็นร้อยละ 8.5 – 9.5 ในการประมาณการครั้งนี้ และการปรับเพิ่มประมาณการปริมาณการนาเข้าตามแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของการเดินทาง ออกนอกประเทศของคนไทย ทาให้ปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการในปี 2565 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 เทียบกับร้อยละ 5.1 ในการประมาณการครั้งก่อน และร้อยละ 17.9 ในปี 2564

5) ดุลการค้า คาดว่าจะเกินดุล 3.26 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการเกินดุล 3.99 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2564 และเป็นการปรับลดลงจากการเกินดุล 3.46 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับเพิ่มประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้าสินค้าที่เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของอัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก ขณะที่ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มขาดดุล 8.0 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ร้อยละ -1.6 ของ GDP) ต่อเนื่องจากการขาดดุล 1.10 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. (ร้อยละ -2.2 ของ GDP) ในปี 2564 และเทียบกับการขาดดุล 7.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ร้อยละ -1.5 ของ GDP) ในการประมาณการครั้งก่อน

6) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยทั้งปี 2565 จะอยู่ในช่วงร้อยละ 6.3 – 6.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.2 ในปี 2564 และ ปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.2 – 5.2 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับสมมุติฐานอัตราแลกเปลี่ยนให้อ่อนค่าลงจากการประมาณการครั้งที่ผ่านมา รวมทั้งการปรับลดการอุดหนุนด้านพลังงานและแนวโน้มการปรับขึ้นราคาค่าไฟฟ้าในช่วงที่เหลือของปี 6. ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในช่วงที่เหลือปี 2565 ควรให้ความสาคัญกับ

1) การติดตามและดูแลกลไกตลาดเพื่อให้ราคาสินค้าเคลื่อนไหวสอดคล้องกับต้นทุนการผลิต ควบคู่ไปกับการดูแลกลุ่มผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มที่มีความเปราะบางต่อการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและภาระดอกเบี้ยแบบมุ่งเป้าโดยไม่ซ้าซ้อนกับมาตรการที่มีอยู่เดิมเพื่อลดผลกระทบต่อภาระทางการคลังที่ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นท่ามกลางความเสี่ยงของความผันผวนในระบบเศรษฐกิจการเงินโลกที่อยู่ในเกณฑ์สูง

2) การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร โดยให้ความสาคัญกับ (1) การช่วยเหลือและบรรเทาผลกระทบแก่เกษตรกรจากปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบและปัญหาต้นทุนการผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะราคาปุ๋ยเคมีและอาหารสัตว์อยู่ในระดับสูง โดยให้ความสาคัญกับ การส่งเสริม การผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์และวัตถุดิบที่ผลิตได้ในประเทศ การเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิตภาคการเกษตร การสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อแลกเปลี่ยนและจัดหาแหล่งวัตถุดิบทางเกษตร (2) การเตรียมการและป้องกันปัญหาจากอุทกภัยที่อาจจะส่งผลกระทบต่อการผลิตภาคเกษตร และ (3) การเพิ่มส่วนแบ่งของเกษตรกรในรายได้จากการจาหน่ายผลผลิตขั้นสุดท้าย

3) การดูแลและแก้ไขปัญหาหนี้สินของลูกหนี้รายย่อยท่ามกลางแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย ทั้งหนี้สินในภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้ตรงตามกลุ่มเป้าหมายและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของลูกหนี้แต่ละราย โดยให้ความสาคัญต่อการแก้ไขภาระหนี้เดิมและการปรับโครงสร้างหนี้ ควบคู่ไปกับการจัดการหนี้นอกระบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการชาระหนี้และไม่เป็นข้อจากัดต่อการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ รวมทั้งการเตรียมมาตรการเพื่อสนับสนุนการปรับตัวของภาคธุรกิจ

4) การรักษาแรงขับเคลื่อนจากการส่งออกสินค้า ให้สามารถสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการรักษาระดับการจ้างงานในภาคการผลิต โดยให้ความสาคัญกับ (1) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าสาคัญไปยังตลาดหลักที่มีการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ชัดเจน และการสร้างตลาดใหม่ให้กับสินค้าที่มีศักยภาพ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศที่ได้ประโยชน์จากการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ รวมทั้งกลุ่มประเทศที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งและการกีดกันทางการค้า (2) การพัฒนาสินค้าเกษตร อาหาร และสินค้าอุตสาหกรรม ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตรงตามข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า (3) การใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ควบคู่ไปกับการเร่งรัดการเจรจาความตกลงการค้าเสรีที่กาลังอยู่ในขั้นตอนของการเจรจา และเตรียมศึกษาเพื่อเจรจากับประเทศคู่ค้าสาคัญใหม่ ๆ รวมทั้งการเร่งรัดกระบวนการพิจารณาในการตัดสินใจเข้าร่วมความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) โดยมุ่งเน้นผลประโยชน์ของประเทศเป็นสาคัญ และ (4) การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมเพื่อรองรับความผันผวนอัตราแลกเปลี่ยน

5) การสนับสนุนการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวและบริการเกี่ยวเนื่อง โดยให้ความสาคัญกับ (1) การส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวคุณภาพสูง และยกระดับศักยภาพและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืน โดยเฉพาะการให้ความสาคัญกับความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานและ สิ่งอานวยความสะดวก การบริหารจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการรักษามาตรฐานความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว (2) การพิจารณามาตรการสินเชื่อและมาตรการสนับสนุนอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้ประกอบการในภาคการท่องเที่ยวสามารถกลับมาประกอบธุรกิจเพื่อรองรับการกลับมาของนักท่องเที่ยวต่างประเทศ (3) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและมีกาลังซื้อสูงโดยเฉพาะกลุ่มพานักระยะยาว และ (4) การส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ รวมถึงการรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวชาวไทยที่นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศกลับมาท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึ้น

6) การส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน โดยให้ความสาคัญกับ (1) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2562-2564 ให้เกิดการลงทุนจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการลงทุนที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย (2) การแก้ไขปัญหาที่นักลงทุนและผู้ประกอบการต่างประเทศเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและการประกอบธุรกิจ รวมทั้งปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต (3) การดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุนเชิงรุกและอานวยความสะดวกเพื่อดึงดูดนักลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายให้เข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้นควบคู่ไปกับการดึงดูดนักลงทุนจากกลุ่มประเทศใหม่ ๆ ที่มีศักยภาพ (4) การส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษต่าง ๆ ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว รวมถึงขับเคลื่อนพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษในแต่ละภูมิภาค (5) การขับเคลื่อนการลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ๆ ให้เป็นไปตามแผนที่กาหนดไว้ และ (6) การพัฒนากาลังแรงงานทักษะสูงเพื่อรองรับกับอุตสาหกรรมที่เน้นเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้มข้นโดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่

7) การขับเคลื่อนการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ ประกอบด้วย (1) การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2565 ให้ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 92.5 ของกรอบงบประมาณทั้งหมด และงบลงทุนรัฐวิสาหกิจให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของงบประมาณทั้งหมด รวมทั้งการเบิกจ่ายโครงการตามพระราชกาหนดฯ เงินกู้วงเงิน 1 ล้านล้านบาท และ 5 แสนล้านบาทในส่วนที่เหลือ (2) การขับเคลื่อนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ของภาครัฐทั้งในด้านการลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งให้เป็นไปตามแผนงาน โดยเฉพาะ การเร่งรัดดาเนินการในโครงการที่สาคัญ ๆ ที่ได้มีการอนุมัติให้ดาเนินการแล้ว และ (3) การเพิ่มศักยภาพทางการคลังโดยมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้และการใช้จ่าย เพื่อให้ฐานะการคลังอยู่ในระดับที่เพียงพอในการสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายใต้ความ ไม่แน่นอนของปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศในระยะต่อไป

8) การติดตาม เฝ้าระวัง และเตรียมมาตรการรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจและการเงินโลก และความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ ที่ยังมีความไม่แน่นอนสูง

ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ