ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2565 และแนวโน้มปี 2565

www.nesdc.go.th

NESDC ECONOMIC REPORT

ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2565 และแนวโน้มปี 2565

962 ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100

สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

แถลงข่าว กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค วันอังคารที่ 17 พฤษภาคม 2565 เวลา 08.30 น.

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 2.2 เร่งขึ้น

จากการขยายตัวร้อยละ 1.8 ในไตรมาสก่อนหน้า (%YoY) และเมื่อ

ปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2565

ขยายตัวจากไตรมาสที่สี่ของปี 2564 ร้อยละ 1.1 (QoQ_SA)

ด้านการใช้จ่าย การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการส่งออกบริการ

ขยายตัวเร่งขึ้น การลงทุนภาคเอกชนกลับมาขยายตัว ขณะที่การส่งออก

สินค้าชะลอตัว และการลงทุนภาครัฐปรับตัวลดลง

ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร และสาขาเกษตร

กรรมการป่าไม้และการประมงกลับมาขยายตัว สาขาขนส่งและสถานที่

เก็บสินค้าขยายตัวเร่งขึ้น ขณะที่สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม

สาขาการขายส่ง ขายปลีก และการซ่อมฯ และสาขาการไฟฟ้าและก๊าซฯ

ชะลอตัว และสาขาการก่อสร้างลดลงต่อเนื่อง

การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในปี 2565 ควรให้ความสาคัญกับ (1) การรักษาแรงขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจจากการใช้จ่ายของภาคครัวเรือน

โดย (i) การติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรคโควิด-19 (ii) การดูแลและแก้ไขปัญหาหนี้สินของครัวเรือน (iii) การดูแลกลไก

ตลาดเพื่อให้ราคาสินค้าเคลื่อนไหวสอดคล้องกับต้นทุนการผลิต และ (iv) การดูแลกลุ่มที่มีความเปราะบางต่อการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า

(2) การสนับสนุนการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวและบริการเกี่ยวเนื่อง โดย (i) การส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ (ii) การจัดกิจกรรมส่งเสริม

การท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและมีกาลังซื้อสูง (iii) การพิจารณามาตรการสินเชื่อและมาตรการอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการ

ให้สามารถกลับมาประกอบธุรกิจ และ (iv) การยกระดับศักยภาพและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืน (3) การรักษาแรงขับเคลื่อน

จากการส่งออกสินค้า โดย (i) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าสาคัญไปยังตลาดหลักและการสร้างตลาดใหม่ให้กับสินค้าที่มีศักยภาพ โดยเฉพาะ

กลุ่มประเทศที่ได้รับประโยชน์จากการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงาน (ii) การพัฒนาสินค้าส่งออกให้มีคุณภาพและมาตรฐาน (iii) การใช้ประโยชน์จาก

กรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ควบคู่ไปกับการเร่งรัดการเจรจาความตกลงการค้าเสรีที่กาลังอยู่ในขั้นตอนของการเจรจา

และการเตรียมศึกษาเพื่อเจรจากับประเทศคู่ค้าสาคัญใหม่ ๆ และ (iv) การปกป้องความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและการเพิ่มขึ้นของ

ต้นทุนการผลิต (4) การส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน โดย (i) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนให้เกิด

การลงทุนจริง (ii) การแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและการประกอบธุรกิจ (iii) การดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุนเชิงรุก (iv) การส่งเสริม

การลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษต่าง ๆ (v) การลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐาน

ด้านคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ๆ และ (vi) การพัฒนากาลังแรงงานทักษะสูงเพื่อรองรับกับอุตสาหกรรมที่เน้นเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้มข้น

(5) การขับเคลื่อนการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ (6) การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร โดย (i) การบริหารจัดการน้า

อย่างเหมาะสมเพื่อเตรียมการรองรับฤดูกาลเพาะปลูก และ (ii) การบรรเทาผลกระทบจากปัญหาต้นทุนวัตถุดิบทางการเกษตรเพิ่มขึ้น และ

(7) การติดตาม เฝ้าระวัง และเตรียมมาตรการรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจและการเงินโลก

แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.5 ? 3.5

โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการปรับตัวดีขึ้นของอุปสงค์ภายในประเทศ

การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว และการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของ

การส่งออกสินค้า โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์ สรอ.

ขยายตัวร้อยละ 7.3 การอุปโภคบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัว

ร้อยละ 3.9 และ ร้อยละ 3.5 ตามลาดับ ขณะที่การลงทุนภาครัฐขยายตัว

ร้อยละ 3.4 ส่วนอัตราเงินเฟ้อทั่วไปคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 4.2 ? 5.2

และดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มขาดดุลร้อยละ 1.5 ของ GDP

เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2565

2.2

1.1

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

59 60 61 62 63 64 65

% GDP (YoY) GDP (QoQ_ปรับฤดูกาล

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2565

(%YoY) 2563 2564 2565

ทั้งปี ทั้งปี Q3 Q4 Q1 ทั้งปี (f)

GDP (CVM) -6.2 1.5 -0.2 1.8 2.2 2.5 – 3.5

การลงทุนรวม1/ -4.8 3.4 -0.4 -0.2 0.8 3.5

ภาคเอกชน -8.2 3.3 2.6 -0.8 2.9 3.5

ภาครัฐ 5.1 3.8 -6.2 1.7 -4.7 3.4

การบริโภคภาคเอกชน -1.0 0.3 -3.2 0.4 3.9 3.9

การอุปโภคภาครัฐบาล 1.4 3.2 1.5 8.1 4.6 -0.2

มูลค่าการส่งออกสินค้า2/ -6.5 18.8 15.7 21.3 14.6 7.3

ปริมาณ2/ -5.8 15.1 12.2 16.9 10.2 3.5

มูลค่าการนาเข้าสินค้า2/ -13.8 23.4 31.8 20.6 16.5 10.9

ปริมาณ2/ -10.5 18.3 27.8 14.1 4.6 3.4

ดุลบัญชีเดินสะพัด 4.2 -2.1 -4.4 -1.3 -1.2 -1.5

ต่อ GDP (%)

เงินเฟ้อ -0.8 1.2 0.7 2.4 4.7 4.2 – 5.2

หมายเหตุ: 1/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น

2/ ฐานข้อมูลดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย

2

กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

17 พฤษภาคม 2565

NESDC

Economic Outlook

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2565 และแนวโน้มปี 2565

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 2.2 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.8 ในไตรมาสที่สี่ของปี 2564 ด้านการใช้จ่าย การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนและการส่งออกบริการขยายตัวเร่งขึ้น การลงทุนภาคเอกชนกลับมาขยายตัว ขณะที่การส่งออกสินค้าชะลอตัว และการลงทุนภาครัฐปรับตัวลดลง ด้านการผลิต สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร และสาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงกลับมาขยายตัว สาขาขนส่งและสถานที่เก็บสินค้าขยายตัว เร่งขึ้น ขณะที่สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม สาขาการขายส่ง ขายปลีก และการซ่อมฯ และสาขาการไฟฟ้าและก๊าซฯ ชะลอตัว และสาขาการก่อสร้างลดลงต่อเนื่อง เมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2565 ขยายตัวจากไตรมาสที่สี่ของปี 2564 ร้อยละ 1.1 (QoQ_SA)

1) การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 3.9 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 0.4 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุม การแพร่ระบาดส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติมากขึ้น รวมทั้งการปรับตัวดีขึ้นของฐานรายได้ในระบบเศรษฐกิจและการดาเนินมาตรการของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง โดยการใช้จ่ายภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้นในทุกหมวด การใช้จ่ายหมวดบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร และกลุ่มนันทนาการและวัฒนธรรม การใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 4.1 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้า และก๊าซฯ กลุ่มอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และกลุ่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์และยาสูบ การใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัวร้อยละ 0.4 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการใช้จ่ายกลุ่มเสื้อผ้าและรองเท้า และการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนขยายตัวร้อยละ 3.8 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลง ร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวในเกณฑ์สูงของการใช้จ่ายเพื่อซื้อยานพาหนะ อย่างไรก็ตาม ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในไตรมาสนี้ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 37.3 จากระดับ 38.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามความกังวลเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของภาระค่าครองชีพท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ส่วนการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาล ขยายตัวร้อยละ 4.6 ชะลอลงจาก การขยายตัวร้อยละ 8.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยรายจ่ายการโอนเพื่อสวัสดิการทางสังคมที่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดขยายตัวสูงร้อยละ 74.5 ตามการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายสาหรับการรักษาพยาบาลโรคโควิด-19 ส่วนค่าตอบแทนแรงงาน (ค่าจ้าง เงินเดือน และค่าซื้อสินค้าและบริการลดลงร้อยละ 2.6 และร้อยละ 3.8 ตามลาดับ สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 20.6 (ต่ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 35.5 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 19.6 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

2) การลงทุนรวม ขยายตัวร้อยละ 0.8 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.2 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 2.9 ปรับตัวดีขึ้น จากการลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวของการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือร้อยละ 5.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการลงทุนในหมวดก่อสร้างลดลงร้อยละ 8.0 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่การลงทุนภาครัฐลดลงร้อยละ 4.7 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 1.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของทั้งการลงทุนรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจร้อยละ 6.5 และร้อยละ 2.1 ตามลาดับ สาหรับอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 15.1 (ต่ากว่าอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 16.0 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าร้อยละ 14.3 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน

3) การส่งออกสินค้า มีมูลค่า 73,288 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 14.6 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 21.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณและราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 และร้อยละ 4.0 เทียบกับร้อยละ 16.9 และร้อยละ 3.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้น เช่น เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี (ร้อยละ 18.7 เครื่องจักรและอุปกรณ์ (ร้อยละ 5.7 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ (ร้อยละ 3.5 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 15.1 เครื่องปรับอากาศ (ร้อยละ 5.6 อาหารสัตว์ (ร้อยละ 26.3 ข้าว (ร้อยละ 19.3 ยางพารา (ร้อยละ 6.2 และน้าตาล (ร้อยละ 180.9 เป็นต้น กลุ่มสินค้าที่มีมูลค่าส่งออกลดลง เช่น รถยนต์นั่ง (ร้อยละ 49.1 รถกระบะ (ร้อยละ 28.9 ผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลงร้อยละ 25.0 และทุเรียน (ลดลงร้อยละ 48.2 เป็นต้น การส่งออกสินค้าไปยังตลาดส่งออกหลักยังคงขยายตัวในอัตราชะลอลง ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดออสเตรเลียลดลง เมื่อหักการส่งออกทองคา ที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 9.7 และเมื่อคิดในรูปของเงินบาท มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวร้อยละ 25.1

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรกของปี 2565

เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 25652.2 1.1 01,0002,0003,0004,0005,000-15.0-10.0-5.00.05.010.0Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q159606162636465พันล้านบาท%GDP ณ ราคาประจาปี (แกนขวา GDP (YoY) (แกนซ้าย GDP (QoQ_ปรับฤดูกาล (แกนซ้าย ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

3

กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

17 พฤษภาคม 2565

NESDC

Economic Outlook

4) สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง กลับมาขยายตัวร้อยละ 4.1 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้น ของผลผลิตหมวดพืชผลสาคัญ อาทิ ข้าวเปลือกเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.3 อ้อยเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.1 กลุ่มไม้ผลเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.1 ปาล์มน้ามันเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.3 และยางพาราเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 ส่วนผลผลิตพืชเกษตรสาคัญที่ลดลง อาทิ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลงร้อยละ 5.5 และมันสาปะหลังลดลงร้อยละ 1.6 และหมวดประมงกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 9 ไตรมาส ร้อยละ 2.5 ในขณะที่หมวดปศุสัตว์ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 2.3 ส่วนดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะราคาสุกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.6 ราคาปาล์มน้ามันเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.1 ราคาไก่เนื้อเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.2 ราคาอ้อยเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.6 และราคายางพาราเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 เป็นต้น ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัวลดลง ได้แก่ ข้าวเปลือกลดลงร้อยละ 10.1 และราคากลุ่มไม้ผลลดลงร้อยละ 16.4 การเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ 9.3

5) สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) ที่ปรับตัวลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 0.2 เทียบกับ การขยายตัวร้อยละ 6.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะเดียวกัน ดัชนีผลผลิตกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศและกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 ? 60 ชะลอตัวลง โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ30) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 ชะลอตัวจากการขยายตัวร้อยละ 4.0ในไตรมาสก่อนหน้า และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 ? 60 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 ชะลอตัวจากการขยายตัวร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 66.35 สูงกว่าร้อยละ 64.51 ในไตรมาสก่อนหน้า และใกล้เคียงกับร้อยละ 66.32 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 14.1 การผลิตยานยนต์ (ร้อยละ 3.0 การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 7.3) การผลิตน้าตาล (ร้อยละ 10.4 และการผลิตมอลต์และสุราที่ทาจากข้าวมอลต์ (ร้อยละ 22.8 เป็นต้น ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ลดลงร้อยละ 13.0 การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ลดลงร้อยละ 9.4 การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และปูนปลาสเตอร์ (ลดลงร้อยละ 4.7 การผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ลดลงร้อยละ 6.7 และการผลิตอาหารสัตว์สาเร็จรูป (ลดลงร้อยละ 4.9 เป็นต้น

6) สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 34.1 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า และ เป็นการกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ตามการกลับมาขยายตัวของการท่องเที่ยวภายในประเทศ และการขยายตัวในเกณฑ์สูงของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ โดยในไตรมาสนี้มีรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยอยู่ที่ 0.144 ล้านล้านบาท ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 11 ไตรมาส ร้อยละ 63.8 เป็นผลมาจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของภาครัฐ ความคืบหน้าในการกระจายวัคซีน และการดาเนินมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ ส่วนนักท่องเที่ยวต่างประเทศมีจานวน 497,693 คน เทียบกับ 20,172 คนในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นผลจากการกลับมาดาเนินมาตรการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่ฉีดวัคซีนครบแล้วแบบไม่กักตัวและไม่จากัดพื้นที่ (Test & Go) ประกอบกับการผ่อนคลายมาตรการเดินทางออกนอกประเทศของหลายประเทศทั่วโลก สาหรับอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 36.15 สูงกว่าร้อยละ 26.25 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 16.15 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

7) สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 2.9 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวดีขึ้นของการใช้จ่ายภาคครัวเรือนและจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และการขยายตัวต่อเนื่องของกิจกรรมการผลิตและการส่งออก สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ โดยดัชนีการขายส่ง (ยกเว้น ยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 6.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดการขายส่งสินค้าทั่วไป ขณะที่ดัชนีการขายส่ง การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.1 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 10.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดการขายยานยนต์ และดัชนีการขายปลีก (ยกเว้น ยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.6 ชะลอตัวจากการขยายตัวร้อยละ 17.8 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ อาทิ ร้านขายปลีกเครื่องประดับ

8) สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 4.6 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัว ของบริการขนส่งทางอากาศและการกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาสของบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีบริการขนส่งร้อยละ 11.0 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีบริการขนส่งทางอากาศ เพิ่มขึ้นร้อยละ 53.8 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 20.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนดัชนีบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง ขยายตัวร้อยละ 6.7 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับ การลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า และดัชนีบริการขนส่งทางน้า เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 2.1 สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 10.1 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 2.2 สอดคล้องกับการขยายตัวของรายรับผู้ประกอบการ

9) สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.0 เทียบกับร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยกิจกรรม การผลิตไฟฟ้าขยายตัวเร่งขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรมเป็นสาคัญ ในขณะที่กิจกรรมโรงแยกก๊าซปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3

แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2565

เศรษฐกิจไทยปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.5 – 3.5 โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการปรับตัวดีขึ้นของอุปสงค์ภายในประเทศ การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว และการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการส่งออกสินค้า ทั้งนี้ คาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์ สรอ. จะขยายตัวร้อยละ 7.3 การอุปโภคบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 3.9 และร้อยละ 3.5 ตามลาดับ ขณะที่การลงทุนภาครัฐขยายตัวร้อยละ 3.4 ส่วนอัตรา เงินเฟ้อทั่วไปคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 4.2 – 5.2 และดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มขาดดุลร้อยละ 1.5 ของ GDP

กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 4

Economic Outlook NESDC

การอปุ โภคบรโ ภคภาคเอกชน: ขยายตวั รอ้ ยละ 3.9 เรง่ ขนึ้ จากการขยายตวั รอ้ ยละ 0.4 ในไตรมาสกอ่ นหน้า เป็นผลมาจาก

การผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติมากขึ้น รวมทั้ง

การปรับตัวดีขึ้นของฐานรายได้ในระบบเศรษฐกิจและการดาเนินมาตรการของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง โดยการใช้จ่าย

ภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้นในทุกหมวด การใช้จ่ายหมวดบริการขยายตัวร้อยละ 4.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 1.6

ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวของการใช้จ่ายในกลุ่มโรงแรมและภัตตาคาร และกลุ่มนันทนาการและ

วัฒนธรรมร้อยละ 29.1 และร้อยละ 3.4 ตามลาดับ การใช้จ่ายหมวดสินค้าไม่คงทนขยายตัวร้อยละ 4.1 เร่งขึ้นจาก

การขยายตัวร้อยละ 3.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายกลุ่มไฟฟ้าและก๊าซฯ กลุ่มอาหารและ

เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ และกลุ่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์และยาสูบ สาหรับการใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทนขยายตัว

ร้อยละ 0.4 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของการใช้จ่าย

กลุ่มเสื้อผ้าและรองเท้าร้อยละ 1.9 และการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนขยายตัวร้อยละ 3.8 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลง

ร้อยละ 5.4 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวในเกณฑ์สูงของการซื้อยานพาหนะร้อยละ 14.1 เทียบกับ

การลดลงร้อยละ 8.2 ในไตรมาสก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวม

ในไตรมาสนี้ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 37.3 จากระดับ 38.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามความกังวลเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้น

ของภาระค่าครองชีพท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน

การลงทุนภาคเอกชน: ขยายตัวร้อยละ 2.9 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า

ตามการกลับมาขยายตัวของการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ ส่วนการลงทุนในหมวดก่อสร้างลดลง

ต่อเนื่อง โดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือขยายตัวร้อยละ 5.4 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.9 ในไตรมาส

ก่อนหน้า สอดคล้องกับการกลับมาขยายตัวของยอดจดทะเบียนยานยนต์ใหม่ร้อยละ 5.5 เทียบกับการลดลง

ร้อยละ 5.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่การลงทุนในหมวดการก่อสร้างลดลงร้อยละ 8.0 เทียบกับการลดลง

ร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการลดลงต่อเนื่องของดัชนีการจาหน่ายวัสดุก่อสร้างในประเทศ

ร้อยละ 2.8 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการปรับตัวดีขึ้นของการลงทุนภาคเอกชน

ในไตรมาสนสี้ อดคลอ้ งกบั การเพมิ่ ขนึ้ ของดชั นีความเชอื่ มนั่ ทางธรุ กจิ ทรี่ ดบั 48.6 จากระดบั 48.1 ในไตรมาสกอ่ นหน้า

1. ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกของปี 2565

ด้านการใช้จ่าย

การอุปโภคบริโภค

ภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ

3.9 เรง่ ขนึ้ จากการขยายตวั

ร้อยละ 0.4 ในไตรมาส

ก่อนหน้า

ในไตรมาสแรกของปี 2565

การอุปโภคบริโภค

ภาคเอกชนขยายตัว

เร่งขึ้น การลงทุน

ภาคเอกชนกลับมา

ขยายตัว ส่วนการส่งออก

สินค้าชะลอตัวลง

การลงทุนภาคเอกชน

ขยายตัวร้อยละ 2.9

เทียบกับการลดลงร้อยละ

0.8 ในไตรมาสก่อนหน้า

ตามการกลับมาขยายตัว

ของการลงทุนในหมวด

เครื่องจักรเครื่องมือ

0.0

10.0

20.0

30.0

40.0

50.0

60.0

70.0

80.0

-8.0

-6.0

-4.0

-2.0

0.0

2.0

4.0

6.0

8.0

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

59 60 61 62 63 64 65

%YoY

การบริโภคภาคเอกชนขยายตัว

การบริโภคภาคเอกชน (แกนซ้าย

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจ (แกนขวา

ดัชนี

ที่มา: สศช. และ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ที่มา: สศช. ธนาคารแห่งประเทศไทย และกรมธุรกิจพลังงาน

-70.0

-35.0

0.0

35.0

70.0

-8.0

-6.0

-4.0

-2.0

0.0

2.0

4.0

6.0

8.0

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

59 60 61 62 63 64 65

%YoY

การบริโภคภาคเอกชนและเครื่องชี้ที่สาคั

การบริโภคภาคเอกชน (แกนซ้าย

ดัชนีปริมาณการจาหน่ายน้ามันเบนซิน แก๊สโซฮอล์ และน้ามันดีเซล

ดัชนีปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน

ดัชนีปริมาณการนาเข้าสินค้าหมวดสิ่งทอเครื่องนุ่งห่ม

ยอดขายรถยนต์นั่งส่วนบุคคล

%YoY

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

-20.0

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

59 60 61 62 63 64 65

%YoY

การลงทุนภาคเอกชนกลับมาขยายตัว

การลงทุนภาคเอกชน ก่อสร้าง เครื่องจักรเครื่องมือ

การส่งออก: การส่งออกในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มีมูลค่า 73,288 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 14.6

ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 21.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการส่งออกยานยนต์ที่ลดลง

ตามการชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain disruption) โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2

ชะลอลงจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ปริมาณการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าประมง

ขยายตัวร้อยละ 6.1 และร้อยละ 10.9 ต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่ปริมาณการส่งออกสินค้าเกษตร

ลดลงร้อยละ 2.0 ราคาสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 ในไตรมาสก่อนหน้า

มูลค่าการส่งออกสินค้า

ในรูปเงินดอลลาร์ สรอ.

ขยายตัวร้อยละ 14.6

ชะลอลงจากไตรมาส

ก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผล

มาจากการส่งออกยานยนต์

ที่ลดลงตามการชะงักงัน

ของห่วงโซ่อุปทาน

(Supply chain

disruption)

เมื่อหักทองคาออกแล้ว

มูลค่าการส่งออกขยายตัว

ร้อยละ 9.7

กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 5

Economic Outlook NESDC

โดยราคาส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม และประมงขยายตัวร้อยละ 4.4 และร้อยละ 2.9 ตามลาดับ ขณะที่ราคา

ส่งออกสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 0.6 เมื่อหักการส่งออกทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปออกแล้ว มูลค่าการส่งออก

ขยายตัวร้อยละ 9.7 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 20.8 ในไตรมาสก่อนหน้า การส่งออกในรูปของเงินบาท

มีมูลค่า 2,423 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.1 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 32.2 ในไตรมาสก่อนหน้า

มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรลดลงร้อยละ 2.6 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 21.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลง

ของมูลค่าการส่งออกทุเรียนและผลไม้อื่น ๆ เป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 2.0 ตามการลดลง

ของปริมาณการส่งออกทุเรียน เป็นสาคัญ และราคาส่งออกลดลงร้อยละ 0.6 ตามการลดลงของราคาส่งออกข้าว

และยางพารา เป็นสาคัญ โดยมูลค่าการส่งออกผลไม้อื่น ๆ และทุเรียนลดลงร้อยละ 13.3 และร้อยละ 48.2

ตามลาดับ ตามการลดลงของการส่งออกไปจีน เป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออกทุเรียนลดลงร้อยละ 52.4 ขณะที่

ราคาส่งออกทุเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 ส่วนมูลค่าการส่งออกข้าวเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.3 ตามการเพิ่มขึ้นของ

การส่งออกไปยังประเทศสหรัฐฯ อิรัก และจีน เป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3

ร้อยละ 48.5 ขณะที่ราคาส่งออกลดลงร้อยละ 19.7 ยางพาราขยายตัวร้อยละ 6.2 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออก

ไปยังตลาดจีน สหรัฐฯ และเกาหลีใต้ เป็นสาคัญ โดยปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7 ขณะที่ราคาส่งออก

ลดลงร้อยละ 0.4 มูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 10.8 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 21.9

ในไตรมาสกอ่ นหน้า โดยปรมิ ณการสง่ ออกเพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 6.1 ชะลอลงจากการเพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 17.0 ในไตรมาสกอ่ นหน้า

และราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 ต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 ในไตรมาสก่อนหน้า มูลค่าการส่งออก

สินค้าอุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี (ร้อยละ 18.7 เครื่องจักรและอุปกรณ์ (ร้อยละ

5.7 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์ (ร้อยละ 3.5 ชิ้นส่วนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 15.1

เครื่องปรับอากาศ (ร้อยละ 5.6 และอาหารสัตว์ (ร้อยละ 26.3 เป็นต้น ส่วนสินค้าส่งออกสาคัญอื่น ๆ ที่ลดลง เช่น

รถยนต์นั่ง (ร้อยละ 49.1 รถกระบะ (ร้อยละ 28.9 ผลิตภัณฑ์ยาง (ลดลงร้อยละ 25.0 เป็นต้น มูลค่าการส่งออก

สินค้าประมงขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 14.2 โดยปริมาณและราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.9

และร้อยละ 2.9 ตามลาดับ สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ กุ้ง ปู กั้ง และล็อบสเตอร์ (ร้อยละ 8.5

และปลา (ร้อยละ 14.8 สินค้าส่งออกอื่น ๆ ขยายตัวร้อยละ 556.9 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออก

ทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูปร้อยละ 681.8 เป็นสาคัญ

มูลค่าการส่งออกสินค้า

เกษตรลดลงตาม

การลดลงของการส่งออก

ทุเรียน และผลไม้อื่น ๆ

เป็นสาคัญ

มูลค่าการส่งออกสินค้า

อุตสาหกรรมชะลอตัวลง

มูลค่าการส่งออกสินค้า

ประมงขยายตัวต่อเนื่อง

เป็นไตรมาสที่ 4

-20.0

-10.0

0.0

10.0

20.0

30.0

40.0

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

59 60 61 62 63 64 65

%YoY

ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคาส่งออก

ราคา มูลค่า ปริมาณ

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

-60.0

-40.0

-20.0

0.0

20.0

40.0

60.0

80.0

100.0

120.0

140.0

160.0

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

59 60 61 62 63 64 65

%YoY

สินค้าส่งออกจาแนกตามกิจกรรมการผลิต

สินค้าเกษตร สินค้าประมง

สินค้าป่าไม้ สินค้าเหมืองแร่

สินค้าอุตสาหกรรม

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

สินค้าส่งออกสาคั ในรูปดอลลาร์ สรอ.

%YoY

2563 2564 2565 สัดส่วน Q1/65

ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 (%)

สินค้าเกษตร -0.8 27.5 15.3 29.6 43.4 21.8 -2.6 5.5

ข้าว -11.3 -8.9 -19.4 -38.8 16.5 13.2 19.3 1.2

ยาง -14.9 58.6 38.1 97.4 99.5 31.4 6.2 2.1

ทุเรียน 41.5 68.4 -16.0 74.4 91.0 84.0 -48.2 0.1

ผลไม้อื่น ๆ -10.5 27.3 45.3 -2.8 49.7 22.5 -13.3 0.5

สินค้าอุตสาหกรรม -8.4 23.1 9.1 43.6 22.2 21.9 10.8 87.7

อาหาร -6.2 7.0 -1.9 5.9 5.5 19.3 28.1 7.6

น้าตาล -36.2 -10.7 -47.7 -21.2 -2.4 85.2 180.9 1.4

ปลากระป๋องและปลาแปรรูป 5.5 -14.7 -2.4 -26.3 -24.7 -2.4 3.3 1.0

ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังและแป้งมันสาปะหลัง -6.0 43.6 63.3 25.8 50.7 35.2 5.8 0.7

ผลไม้กระป๋องและแปรรูป 4.1 8.6 -4.3 0.3 15.1 20.7 9.6 0.4

เครื่องดื่ม -3.7 3.6 -0.4 17.8 -5.2 2.8 4.6 1.0

ผลิตภัณฑ์ยาง 23.4 19.1 52.4 40.0 10.4 -15.1 -25.0 2.3

อาหารสัตว์ 18.7 23.5 27.4 21.2 19.6 25.8 26.3 1.0

อิเล็กทรอนิกส์ 1.0 18.8 8.3 29.9 19.7 18.1 17.0 11.6

– คอมพวิ เตอร์ 0.5 47.1 2.2 24.0 88.8 71.2 67.5 0.3

– ชนิ้ สว่ นและอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ -2.4 20.9 -5.0 37.1 26.1 28.7 15.1 5.3

– แผงวงจรรวมและชิ้นส่วน -5.7 18.6 13.9 22.7 19.2 18.7 17.7 3.1

6

กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค

17 พฤษภาคม 2565

NESDC

Economic Outlook

ตลาดส่งออก: การส่งออกสินค้าไปยังตลาดหลักส่วนให่ยังคงขยายตัวแต่ในอัตราชะลอลง โดยการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 24.1 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ เครื่องโทรสาร โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดจีนขยายตัวร้อยละ 4.2 ตามการขยายตัวของการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เม็ดพลาสติก และยางพารา เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดญี่ปุ่นขยายตัวร้อยละ 1.2 ตามการเพิ่มขึ้นของการส่งออกไก่แปรรูป เคมีภัณฑ์ และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดสหภาพยุโรป (27 ขยายตัวร้อยละ 5.7 ตามการขยายตัวของการส่งออกรถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า และยางพารา เป็นสาคัญ การส่งออกไปยังตลาดอาเซียน (5 ขยายตัวร้อยละ 26.9 (ตามการขยายตัวของการส่งออกไปยังตลาดมาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ เป็นสาคัญ การส่งออกไปกลุ่มประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม ขยายตัวร้อยละ 5.5 (ตามการส่งออกไปยังประเทศกัมพูชา ลาวและเมียนมา เป็นสาคัญ และการส่งออก ไปยังตะวันออกกลาง (15 ขยายตัวร้อยละ 17.1 ตามการขยายตัวของการส่งออกรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป และไม้และผลิตภัณฑ์ เป็นสาคัญ ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดออสเตรเลียลดลงร้อยละ 2.4 ตามการลดลงของการส่งออกรถปิกอัพ รถบัสและรถบรรทุก และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ และผลิตภัณฑ์ยาง เป็นสาคัญ เช่นเดียวกับการส่งออกไปยังรัสเซียลดลงร้อยละ 6.6 ตามการลดลงของการส่งออกเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ผลไม้กระป๋องและแปรรูป และเครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ

การส่งออกสินค้า ไปยังตลาดส่งออกหลัก ส่วนใหญ่ยังขยายตัว แต่ในอัตราชะลอลง

สินค้าส่งออกสาคั ในรูปดอลลาร์ สรอ. (ต่อ)

%YoY

2563

2564

2565

สัดส่วน Q1/65 (%)

ทั้งปี

ทั้งปี

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

เครื่องใช้ไฟฟ้า

0.9

19.9

14.1

44.2

14.5

12.0

7.8

9.6

– เครื่องปรับอากาศ

-3.4

22.5

9.4

52.5

9.3

25.8

5.6

2.5

– ตู้เย็น

7.1

13.3

19.3

50.9

-6.0

-0.2

6.8

0.8

– ชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า

4.3

11.4

7.0

27.7

9.0

4.5

6.2

2.2

ผลิตภัณฑ์โลหะ

-5.4

45.5

22.7

64.0

56.8

43.1

21.8

5.7

ยานยนต์

-17.6

35.2

21.0

111.9

20.8

21.8

-5.6

14.2

– รถยนต์นั่ง

-18.1

6.0

12.9

88.6

-26.7

-17.9

-49.1

1.9

– รถกระบะและรถบรรทุก

-31.9

58.1

44.8

190.6

18.7

55.4

-28.9

2.4

– ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ยานยนต์

-13.6

30.0

17.3

102.0

25.3

8.3

3.5

6.8

เครื่องจักรและอุปกรณ์

-8.4

19.0

16.2

40.7

17.0

7.9

5.7

8.1

เคมีภัณฑ์และปิโตรเคมี

-10.6

37.2

21.1

51.1

43.7

34.4

18.7

9.1

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

-26.8

64.0

-6.0

92.7

101.5

101.7

23.3

2.9

อุปกรณ์และเครื่องมือด้านการแพทย์

-5.4

18.8

13.8

58.1

6.6

8.9

3.5

0.7

เครื่องใช้ในห้องน้าและเครื่องสาอาง

-13.0

2.4

-4.6

5.1

-1.9

12.1

8.6

1.1

เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน

10.4

20.3

21.3

49.9

6.9

12.4

18.1

0.7

สินค้าประมง

-15.2

8.8

-8.2

13.4

16.9

12.1

14.2

0.5

กุ้ง, ปู, กั้ง และล็อบสเตอร์

-21.6

15.7

-3.2

16.1

25.0

21.6

8.5

0.2

ปลา

-3.0

-0.3

-9.5

-2.1

10.5

0.9

14.8

0.2

สินค้าส่งออกอื่นๆ

41.7

-71.5

-88.2

-69.7

-74.5

59.9

556.9

5.1

ทองคาที่ยังไม่ขึ้นรูป

62.3

-70.7

-88.3

-67.3

-75.8

67.9

681.8

4.9

มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร

-5.9

17.1

1.9

31.8

15.3

22.1

14.9

100.0

มูลค่าสินค้าส่งออกรวมตามสถิติดุลการชาระเงิน

-6.5

18.8

5.0

36.4

15.7

21.3

14.6

99.6

มูลค่าสินค้าส่งออกไม่รวมทองคา

-8.9

24.4

11.4

45.4

24.2

20.8

9.7

94.7

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

ตลาดส่งออกสาคั ในรูปดอลลาร์ สรอ.

%YOY

2563

2565

สัดส่วน Q1/65 (%)

2564

ทั้งปี

ทั้งปี

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

มูลค่าการส่งออกรวมตามสถิติศุลกากร (ล้านดอลลาร์ สรอ.)

231,634

271,174

64,035

68,159

67,663

71,317

73,601

100.0

(%YoY)

-5.9

17.1

1.9

31.8

15.3

22.1

14.9

สหรัฐอเมริกา

9.7

21.5

12.3

30.4

19.6

24.3

24.1

16.2

ญี่ปุ่น

-7.0

9.5

5.9

20.0

15.3

-0.4

1.2

8.8

สหภาพยุโรป (27 ไม่รวมสหราชอาณาจักร

-10.5

22.6

10.8

49.8

16.4

20.8

5.7

8.0

สหราชอาณาจักร

-19.7

12.9

-9.3

65.5

0.2

14.3

19.4

1.4

จีน

2.2

24.8

19.7

29.3

32.2

17.3

4.2

11.3

อาเซียน (9

-11.8

17.2

-5.9

33.3

18.3

29.3

17.0

24.3

– อาเซียน (5 *

-12.2

19.4

-10.8

27.0

26.5

42.9

26.9

14.2

– CLMV**

-11.1

14.4

0.6

42.1

8.1

13.4

5.5

10.1

ตะวันออกกลาง (15

-13.0

19.8

-5.7

37.6

22.7

33.6

17.1

3.4

ออสเตรเลีย

-3.9

10.9

19.7

27.7

-12.6

14.6

-2.4

3.9

ฮ่องกง

-3.6

2.6

-19.4

15.7

7.8

9.2

5.0

3.5

อินเดีย

-25.0

55.1

7.5

181.3

64.9

47.5

33.0

3.5

เกาหลีใต้

-10.1

38.5

17.5

56.0

51.3

32.0

22.7

2.2

ไต้หวัน

-5.4

22.7

9.8

35.4

27.2

19.6

9.7

1.6

รัสเซีย

-24.5

41.7

-6.2

61.3

61.4

70.5

-6.6

0.3

หมายเหตุ: * อาเซียน (5 ประกอบด้วย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 7  Economic Outlook NESDC  มูลค่าการนาเข้า  ในรูปเงินดอลลาร์ สรอ.  เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.5  เทียบกับการเพิ่มขึ้น  ร้อยละ 20.6 ในไตรมาส  ก่อนหน้า  การนาเข้า: การนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. มูลค่า 64,135 ล้านดอลลาร์ สรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.5  เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 20.6 ในไตรมาสก่อน ตามการชะลอลงของปริมาณนาเข้า ขณะที่ราคานาเข้าเร่งตัวขึ้น  สอดคล้องกับราคาพลังงาน โดยปริมาณการนาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 ชะลอลงจากร้อยละ 14.1 ในไตรมาส  ก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าในหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง สินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภค  ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.3 ร้อยละ 6.0 และร้อยละ 4.6 ตามลาดับ ชะลอลงจากร้อยละ 15.7 ร้อยละ 11.9 และร้อยละ  15.2 ในไตรมาสก่อนหน้าตามลาดับ ในขณะที่ราคานาเข้ารวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.3 เร่งขึ้นจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ  5.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของราคาการนาเข้าในหมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง ที่เพิ่มขึ้น  ร้อยละ 18.6 เร่งขึ้นจากร้อยละ 21.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนราคานาเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค และสินค้าทุน  เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 และร้อยละ 3.3 ต่อเนื่องจากร้อยละ 4.4 และร้อยละ 2.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ หากไม่รวม  การนาเข้าทองคา มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.1 ในรูปของเงินบาท การนาเข้าสินค้ามีมูลค่ารวม 2,121  พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.2 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.6 ในไตรมาสก่อนหน้า  ในรายหมวด มูลค่าการนาเข้าสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง สินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น  ขณะที่สินค้านาเข้าอื่น ๆ ลดลง โดยมูลค่าการนาเข้าหมวดวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.9  เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 40.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.3 ส่วนราคา  นาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.6 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วน  เครื่องใช้ไฟฟ้า และน้ามันดิบ เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.6 เทียบกับการเพิ่มขึ้น  ร้อยละ 14.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3  สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้น เช่น เครื่องจักรกลอื่น ๆ และชิ้นส่วน และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น มูลค่า  การนาเข้าหมวดอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.2 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.3 ในไตรมาสก่อนหน้า  โดยปริมาณการนาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6 ส่วนราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.4 สินค้าสาคัญที่มีมูลค่าการนาเข้า  เพิ่มขึ้น เช่น ยาและเวชภัณฑ์ และอาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์นม เป็นต้น มูลค่าการนาเข้าหมวดสินค้าอื่น ๆ  ลดลงร้อยละ 42.1 เทียบกับการลดลงร้อยละ 10.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการลดลงของการนาเข้ากลุ่มทองคา  (ไม่รวมทองรูปพรรณ ที่ลดลงร้อยละ 54.1  ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  -30.0  -20.0  -10.0  0.0  10.0  20.0  30.0  40.0  50.0  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  59 60 61 62 63 64 65  %YoY ดัชนีมูลค่า ปริมาณ และราคานาเข้า  ราคา มูลค่า ปริมาณ  ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  -30.0  -20.0  -10.0  0.0  10.0  20.0  30.0  40.0  50.0  60.0  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  59 60 61 62 63 64 65  %YoY  สินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ  สินค้าอุปโภคบริโภค  วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง  สินค้าทุน  รวม  สินค้านาเข้าสาคั ในรูปดอลลาร์ สรอ.  %YoY 2563 2564 2565 สัดส่วน  ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q1/65 (%)  สินค้าอุปโภคบริโภค -9.6 19.2 11.5 29.2 17.0 20.3 9.2 11.9  อาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์นม 4.0 5.7 1.0 9.9 7.8 4.7 13.8 2.4  โทรศัพท์มือถือ -7.5 39.0 85.5 14.3 3.6 51.5 -12.3 1.6  ยาและเวชภัณฑ์ -0.5 46.9 3.6 21.5 89.2 79.6 53.4 1.5  ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และประมง -8.4 24.1 13.1 47.4 21.9 17.1 9.4 1.2  สิ่งทอ -13.6 12.3 4.2 28.8 12.8 6.7 1.8 0.9  วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง -12.4 36.7 7.1 53.4 52.6 40.3 30.9 67.2  ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า 1.3 20.5 13.9 23.8 25.0 19.1 20.4 15.3  เคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี -5.9 38.9 18.4 46.3 60.5 33.6 19.2 10.0  วัสดุที่ทาด้วยโลหะ -16.6 60.7 26.5 83.6 89.3 53.1 19.0 9.7  น้ามันดิบ -23.9 49.7 -23.3 110.2 78.1 99.2 86.2 11.8  ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม -42.5 57.0 4.3 123.6 55.1 88.5 39.3 2.7  สินค้าทุน -13.8 18.4 3.7 32.5 26.4 14.9 9.6 17.1  เครื่องจักรกลอื่นๆ และชิ้นส่วน -12.0 16.5 0.4 32.1 27.7 10.4 8.9 7.7  หม้อแปลง, เครื่องกาเนิดไฟฟ้า, มอเตอร์, และ  เครื่องเก็บประจุไฟฟ้า -4.7 20.8 19.6 30.5 29.9 6.9 8.5 1.8  เครื่องชั่ง ตวง วัด -16.6 16.9 11.0 40.3 30.5 -5.0 -4.1 1.2  คอมพิวเตอร์ -1.5 44.7 45.3 15.4 55.0 63.8 21.5 1.0  อากาศยาน, เรือ, แท่น, และรถไฟ -39.2 20.4 -35.5 94.3 -9.4 81.5 27.1 1.0  สินค้านาเข้าอื่นๆ -20.3 19.7 24.7 74.7 23.3 -10.7 -42.1 3.8  ทองคา (ไมร่ วมทองรูปพรรณ -33.3 68.5 135.5 156.6 66.9 -6.7 -54.1 2.5  สินค้านาเข้าเบ็ดเตล็ด -1.8 -27.4 -61.3 27.5 -7.8 -18.2 14.4 1.3  มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติศุลกากร -12.7 29.8 8.2 46.3 41.0 29.4 18.4 100.0  มูลค่าสินค้านาเข้ารวมตามสถิติดุลการชาระเงิน -13.8 23.4 6.5 39.0 31.8 20.6 16.5 86.0  มูลค่าการนาเข้าสินค้าไม่รวมทองคา -13.1 22.1 2.0 37.7 31.1 21.8 22.1 83.5  ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  8  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  NESDC  Economic Outlook  อัตราการค้า (Term of Trade) ปรับตัวลดลง เนื่องจากราคานาเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.3 เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกร้อยละ 4.0 ส่งผลให้อัตราการค้าอยู่ที่ระดับ 102.5 ลดลงจากระดับ 109.7 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน และระดับ 107.9 ในไตรมาสก่อนหน้า  ดุลการค้าเกินดุล ในไตรมาสแรกของปี 2565 ดุลการค้าเกินดุล 9.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุล 10.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าการเกินดุล 8.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เมื่อคิดในรูปเงินบาทในไตรมาสแรกของปี 2565 ดุลการค้าเกินดุล 302.4 พันล้านบาท ต่ากว่าการเกินดุล 362.7 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าการเกินดุล 269.6 พันล้านบาท ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  อัตราการค้าปรับตัว ลดลง  ดุลการค้าเกินดุล 9.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ต่ากว่าการเกินดุล ในไตรมาสก่อนหน้า แต่สูงกว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ  ดัชนีปริมาณสินค้านาเข้า  %YoY  2563  2565  2564  ทั้งปี  Q1  Q2  Q3  Q4  ทั้งปี  Q1  Q2  Q3  Q4  Q1  สินค้าอุปโภคบริโภค  -10.7  -2.4  -15.7  -11.9  -12.7  14.8  8.3  24.1  12.6  15.2  4.6  วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง  -7.1  1.3  -14.2  -15.4  0.6  16.6  -1.7  26.9  29.0  15.7  10.3  สินค้าทุน  -14.8  -4.5  -22.6  -21.6  -10.3  16.2  2.1  30.2  24.1  11.9  6.0  ดัชนีปริมาณนาเข้ารวม  -10.5  -1.0  -19.6  -17.3  -3.6  18.3  4.9  29.8  27.8  14.1  4.6  ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  ดัชนีราคาสินค้านาเข้าจาแนกตามภาคเศรษฐกิจ  ดัชนีราคาสินค้านาเข้า  %YoY  2563  2565  2564  ทั้งปี  Q1  Q2  Q3  Q4  ทั้งปี  Q1  Q2  Q3  Q4  Q1  สินค้าอุปโภคบริโภค  1.3  1.5  1.0  1.1  1.7  3.8  2.9  4.1  3.9  4.4  4.4  วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง  -5.8  -4.1  -11.4  -4.9  -2.9  17.3  9.0  20.9  18.3  21.2  18.6  สินค้าทุน  1.2  1.7  1.3  0.9  1.0  1.9  1.5  1.7  1.8  2.7  3.3  ดัชนีราคานาเข้ารวม  -3.8  -2.1  -6.6  -3.4  -3.1  4.3  1.5  7.1  3.1  5.7  11.3  ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  อัตราการค้า  %YoY  2563  2565  2564  ทั้งปี  Q1  Q2  Q3  Q4  ทั้งปี  Q1  Q2  Q3  Q4  Q1  อัตราการค้า*  110.2  109.1  111.8  109.7  110.0  109.0  109.7  108.7  109.8  107.9  102.5  %YOY  3.2  1.8  4.8  2.9  3.4  -1.0  0.6  -2.8  0.0  -1.9  -6.6  หมายเหตุ : * อัตราการค้า (Terms of Trade : TOT คือ ราคาสินค้าส่งออกเทียบกับราคาสินค้านาเข้าของแต่ละประเทศ หาก TOT ปรับดีขึ้น หมายถึงประเทศนั้น ๆ ได้ประโยชน์มากขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากสินค้าที่ส่งออกได้ราคาสูงขึ้นเทียบกับราคา ที่นาเข้า  ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  ด้านการผลิต  สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง: กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 4.1 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากสภาพอากาศและปริมาณน้าที่เอื้ออานวย สอดคล้องกับ การเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรร้อยละ 4.7 เทียบการลดลงร้อยละ 1.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผลผลิตสินค้าเกษตรที่ขยายตัว ได้แก่ (1 ข้าวเปลือก เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.3 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย ประกอบกับปริมาณน้าฝนมากกว่าปีที่ผ่านมา ทาให้มีปริมาณน้าเพียงพอต่อการเพาะปลูก (2 อ้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.1 ตามการขยายพื้นที่เพาะปลูกอ้อย และผลผลิตอ้อยต่อไร่ปรับตัวเพิ่มขึ้น (3 กลุ่มไม้ผล เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.1 โดยเฉพาะมะม่วง เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.8 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย (4 ปาล์มน้ามัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.3 เป็นผลมาจากเกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ามัน เนื่องจากได้รับแรงจูงใจด้านราคาในช่วงที่ผ่านมา ประกอบกับสภาพอากาศที่เอื้ออานวย และ (5 ยางพารา เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย ประกอบกับเกษตรกรมีการบารุงรักษาต้นยางพาราทาให้ต้นยางสมบูรณ์ และส่งผลให้เกษตรกรสามารถเพิ่มวัน กรีดยางพารา อย่างไรก็ตาม ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัวลดลง ได้แก่ สุกร (ลดลงร้อยละ 8.7) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ลดลงร้อยละ 5.5 และมันสาปะหลัง (ลดลงร้อยละ 1.6 เป็นต้น ส่วนดัชนีราคาสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญ ๆ เช่น (1 สุกร เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.6 เป็นผลมาจากการลดลงของปริมาณผลผลิตสุกรมีชีวิต เนื่องจากต้นทุนการผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น ประกอบกับความต้องการบริโภคเนื้อสุกรจากตลาดในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้น (2 ปาล์มน้ามัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 52.1 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันปาล์มในตลาดโลก ประกอบกับปริมาณความต้องการใช้น้ามันปาล์มในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (3 ไก่เนื้อ เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.2 เนื่องจากต้นทุนการผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น ประกอบกับปริมาณความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นจากทั้งตลาดต่างประเทศและตลาดในประเทศ (4 อ้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.6 เนื่องจากคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทรายกาหนดราคาอ้อยขั้นต้นปีการผลิต 2564/65 เพิ่มขึ้นจากปีก่อน และ (5 ยางพารา เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 ตามปริมาณความต้องการใช้ยางธรรมชาติจากตลาดภายในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ดัชนีราคาสินค้าเกษตรสาคัญบางรายการปรับตัวลดลง เช่น ราคาข้าวเปลือก (ลดลงร้อยละ 10.1 และราคากลุ่มไม้ผล (ลดลงร้อยละ 16.4 เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของทั้งดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและดัชนีราคาสินค้าเกษตร ส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ 9.3  การผลิตปรับตัวเร่งขึ้น จากไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร และสาขาเกษตรกรรม กลับมาขยายตัว ส่วนสาขาขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า ขยายตัวเร่งขึ้น  สาขาเกษตรกรรมกลับมาขยายตัวร้อยละ 4.1 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากสภาพอากาศและ ปริมาณน้าที่เอื้ออานวย และการปรับตัวดีขึ้นของราคาสินค้าเกษตรหลายรายการ ซึ่งส่งผลให้ดัชนีรายได้เกษตรกรโดยรวมกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 9  Economic Outlook NESDC  สาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม: เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า  ตามการชะลอตัวของกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศและกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วน  การส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 และการลดลงของการผลิตเพื่อการส่งออกซึ่งส่วนหนึ่งได้รับผลกระทบจาก  ปั หาข้อจากัดในห่วงโซ่อุปทานโลก สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 1.4 ชะลอตัว  ลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อบริโภค  ภายในประเทศ (สัดส่วนส่งออกน้อยกว่าร้อยละ 30) เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ  4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง เช่น การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน  ลดลงร้อยละ 9.4 เป็นผลมาจากการขาดแคลนวัตถุดิบ (เหล็ก และการผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และ  ปูนปลาสเตอร์ลดลงร้อยละ 4.7 ตามการลดลงของคาสั่งซื้อภายในประเทศ ส่วนการผลิตเภสัชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ที่ใช้  รักษาโรคเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 22.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามคาสั่งซื้อ  ภายในประเทศที่ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด -19  ภายในประเทศเริ่มคลี่คลายลง อย่างไรก็ตาม การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมขยายตัวในเกณฑ์สูง  ร้อยละ 14.1 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 - 60 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1  ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการผลิตยานยนต์ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 ชะลอตัวลง  จากการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากปัญหาการขาดแคลนชิ้นส่วนรถยนต์ที่สาคัญ  (ชิปและเซมิคอนดักเตอร์ ในบางรุ่น และการผลิตน้าตาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ  17.8 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการชะลอตัวของปริมาณผลผลิตอ้อยที่ส่งเข้าโรงงานน้าตาล เนื่องจาก  อยู่ในช่วงใกล้ปิดหีบอ้อยปีการผลิต 2564/65 ส่วนการผลิตสาคัญที่ปรับตัวลดลงคือ การผลิตอาหารสัตว์  สาเร็จรูปลดลงร้อยละ 4.9 เป็นผลมาจากการขาดแคลนวัตถุดิบ และการผลิตจักรยานยนต์ลดลงร้อยละ 20.7  ตามการลดลงของคาสั่งซื้อภายในประเทศ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมกลุ่มการผลิตเพื่อส่งออก (สัดส่วนส่งออก  มากกว่าร้อยละ 60) ปรับตัวลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส ร้อยละ 0.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 6.6  ในไตรมาสก่อนหน้า โดยการผลิตสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงลดลง  ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 13.0 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการประสบปัญหาการขาดแคลนชิป ซึ่งเป็นวัตถุดิบสาคัญ  ในการผลิตฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ และการผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไปลดลงร้อยละ 6.7 โดยเฉพาะ  เครื่องปรับอากาศ เนื่องจากความต้องการซื้อเครื่องปรับอากาศในตลาดต่างประเทศ (ออสเตรเลีย ปรับตัวลดลง  เป็นต้น ในขณะที่การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 7.3  โดยเฉพาะแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (Integrated Circuit: IC) ที่ใช้สาหรับการผลิตสินค้าที่มีเทคโนโลยี  ในระดับพื้นฐาน สาหรับอัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 66.35 สูงกว่าร้อยละ 64.51  ในไตรมาสก่อนหน้า และใกล้เคียงกับร้อยละ 66.32 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยในอุตสาหกรรมสาคัญ  ที่มีการใช้กาลังการผลิตสูงกว่าร้อยละ 80 จานวน 6 อุตสาหกรรม ได้แก่ การผลิตพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น  (ร้อยละ 95.64 การผลิตน้าตาล (ร้อยละ 94.54 การผลิตน้ามันพืช (ยกเว้นน้ามันปาล์ม (ร้อยละ 90.25  การผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์เสริมสาหรับยานยนต์ (ร้อยละ 88.07 การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม  (ร้อยละ 84.63 และการฆ่าสัตว์ปีกและการผลิตเนื้อสัตว์ปีกสด แช่เย็นหรือแช่แข็ง (ร้อยละ 81.71 ตามลาดับ  ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคั ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (ร้อยละ 14.1  การผลิตยานยนต์ (ร้อยละ 3.0 การผลิตชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 7.3 การผลิตน้าตา ล  (ร้อยละ 10.4 และการผลิตมอลต์และสุราที่ทาจากข้าวมอลต์ (ร้อยละ 22.8 เป็นต้น  ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมสาคั ๆ ที่ลดลง เช่น การผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (ลดลงร้อยละ 13.0  การผลิตเหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน (ลดลงร้อยละ 9.4 การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และ  ปูนปลาสเตอร์ (ลดลงร้อยละ 4.7 การผลิตเครื่องจักรอื่น ๆ ที่ใช้งานทั่วไป (ลดลงร้อยละ 6.7 และการผลิต  อาหารสัตว์สาเร็จรูป (ลดลงร้อยละ 4.9 เป็นต้น  -20  -10  0  10  20  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  61 62 63 64 65  (%YoY)  ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร ดัชนีราคาสินค้าเกษตร ดัชนีรายได้เกษตรกร  ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร  รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.3  ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรและราคาสินค้าเกษตร  ราคาปาล์มน้ามัน อ้อย ยางพาราและมันสาปะหลังปรับตัวเพิ่มขึ้น  ในขณะที่ราคาข้าวเปลือกปรับตัวลดลง  ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร  -100  -50  0  50  100  150  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  61 62 63 64 65  (%YoY) ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ยางแผ่นดิบชั้น 3  ปาล์มน้ามัน อ้อย  สาขาการผลิตสินค้า  อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น  ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2  ร้อยละ 1.9 แต่ชะลอตัวลง  เมื่อเทียบกับไตรมาส  ก่อนหน้า ตามการชะลอตัว  ของกลุ่มอุตสาหกรรมการ  ผลิตเพื่อบริโภค  ภายในประเทศและกลุ่ม  อุตสาหกรรมที่มีสัดส่วน  การส่งออกในช่วงร้อยละ  30 - 60 และการลดลงของ  การผลิตเพื่อการส่งออก  ซงึ่ สว่ นหนงึ่ ไดร้ บั ผลกระทบ  จากปัญหาข้อจากัด  ในห่วงโซ่อุปทานโลก  อัตราการใช้กาลังการผลิต  เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 66.35  สูงกว่าร้อยละ 64.51  ในไตรมาสก่อนหน้า และ  ใกล้เคียงกับร้อยละ 66.32  ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 10  Economic Outlook NESDC  สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร: กลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ร้อยละ 34.1 ปรับตัวดีขึ้น  เมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการกลับมาขยายตัวของการท่องเที่ยว  ภายในประเทศ และการขยายตัวในเกณฑ์สูงของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ โดยในไตรมาสนี้ รายรับจาก  นักท่องเที่ยวชาวไทยมีจานวน 0.144 ล้านล้านบาท ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 11 ไตรมาส ร้อยละ 63.8 เป็นผลมาจาก  การผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของภาครัฐ ความคืบหน้าในการกระจายวัคซีน  และการดาเนินมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ สาหรับจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนคนไทยมากที่สุด  3 อันดับแรก (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ชลบุรี จานวน 2.79 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 7.15 เพิ่มขึ้นร้อยละ  940.9 กาญจนบุรี จานวน 2.77 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 7.10 เพิ่มขึ้นร้อยละ 106.3 และเชียงใหม่ 2.13 ล้านคน  (สัดส่วนร้อยละ 5.46 เพิ่มขึ้นร้อยละ 102.7 ส่วนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย  มีจานวน 497,693 คน เพิ่มขึ้นจากฐานต่าอย่างมีนัยสาคัญ เป็นผลจากการกลับมาดาเนินมาตรการเปิดรับ  นักท่องเที่ยวต่างประเทศที่ฉีดวัคซีนครบแล้วแบบไม่กักตัวและไม่จากัดพื้นที่ ( Test & Go) ประกอบกับ  การผ่อนคลายมาตรการเดินทางออกนอกประเทศของหลายประเทศทั่วโลก โดยนักท่องเที่ยวสาคั ที่เดินทางเข้า  มาในราชอาณาจักรในไตรมาสนี้ ได้แก่ นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรป 288,845 คน (สัดส่วนร้อยละ 58.04  เพิ่มขึ้นร้อยละ 2,828.9 ภูมิภาคเอเชียตะวันออก 85,693 คน (สัดส่วนร้อยละ 17.22 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1,544.5  และภูมิภาคอเมริกา 39,929 คน (สัดส่วนรอ้ ยละ 8.02 เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 1,326.5 สาหรบั อตั ราเขา พกั เฉลยี่ อยู่ที่  ร้อยละ 36.15 สูงกว่าร้อยละ 26.25 ในไตรมาสก่อนหน้า และสูงกว่าร้อยละ 16.15 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4  ร้อยละ 2.9 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการปรับตัวดีขึ้นของการใช้จ่าย  ภาคครัวเรือนและจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และการขยายตัวต่อเนื่องของกิจกรรมการผลิตและ  การส่งออก สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีรวมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์และ  จักรยานยนต์ โดย (1 ดัชนีการขายส่ง (ยกเว้นยานยนต์และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7 เร่งขึ้นจาก  การขยายตัวร้อยละ 6.5 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดการขายส่งสินค้าทั่วไป (2) ดัชนีการขายส่ง  การขายปลีก การซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.1 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงร้อยละ  10.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะหมวดการขายยานยนต์ และ (3) ดัชนีการขายปลีก (ยกเว้น ยานยนต์  และจักรยานยนต์) เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.6 ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับการขยายตัวร้อยละ 17.8 ในไตรมาสก่อนหน้า  โดยเฉพาะหมวดร้านขายปลีกสินค้าประเภทอื่น ๆ อาทิ ร้านขายปลีกเครื่องประดับ  สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 4.6 เร่งขึ้นจากการขยายตัว  ร้อยละ 3.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของบริการขนส่งทางอากาศและการกลับมา  ขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส ของบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง เป็นสาคั สอดคล้องกับ  การเพิ่มขึ้นของดัชนีบริการขนส่งร้อยละ 11.0 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 3.6 ในไตรมาสก่อนหน้า  ประกอบด้วย (1) ดัชนีบริการขนส่งทางอากาศ เพิ่มขึ้นร้อยละ 53.8 ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ  20.6 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของทั้งดัชนีปริมาณการขนส่งผู้โดยสารทางอากาศและดัชนีปริมาณ  การขนส่งสินค้าทางอากาศ (2) ดัชนีบริการขนส่งทางบกและท่อลาเลียง ขยายตัวร้อยละ 6.7 ตามการเพิ่มขึ้น  ของปริมาณการใช้น้ามันดีเซล ปริมาณผู้ใช้บริการรถสาธารณะ ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์  จานวนรถบรรทุกจดทะเบียน และปริมาณการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว และ (3) ดัชนีบริการขนส่งทางน้า  เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5 ร้อยละ 2.1 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีปริมาณตู้สินค้าและดัชนีปริมาณการขนส่ง  สินค้าระหว่างประเทศทางน้าของไทย สาหรับบริการสนับสนุนการขนส่งเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ  10.1 และบริการไปรษณีย์ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 2.2 สอดคล้องกับการขยายตัวของรายรับผู้ประกอบการ  ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4  อัตราการใช้กาลังการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 66.35  ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.  -60.0  -40.0  -20.0  0.0  20.0  40.0  60.0  0.0  10.0  20.0  30.0  40.0  50.0  60.0  70.0  80.0  90.0  100.0  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  61 62 63 64 65  %Cap U (แกนซ้าย MPI  Export60%  (ร้อยละ (%YoY)  รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในไตรมาสแรกของปี 2565  ยังไม่มีการเผยแพร่  ที่มา: กระทรวงการท่องเที่ยวและกี  -120  -90  -60  -30  0  30  0.0  0.2  0.4  0.6  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  61 62 63 64 65  (ล้านล้านบาท (ร้อยละ  รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ %YoY (แกนขวา  มาตรการ VOA  (1 พ.ค. ? 31 ต.ค. 62)  มาตรการ VOA  (14 ม.ค. 30 เม.ย. 62)  มาตรการ VOA  (15 พ.ย. 61 13 ม.ค. 62)  เหตุเรือล่มที่จังหวัดภูเก็ต  (5 ก.ค. 61)  มาตรการ VOA  (1 พ.ค. ? 31 ต.ค. 62)  มาตรการ VOA  (1 พ.ย. 62 ? 30 เม.ย. 63)  การแพร่ระบาดของโรค  ติดเชื้อไวรัสโควิด 19  การไม่อนุตให้นักท่องเที่ยว  ต่างประเทศเดินทางเข้าประเทศเป็นเวลา  6 เดือน  ยังไม่มีการเผยแพร่ข้อมูลรายรับจาก  นักท่องเที่ยวต่างประเทศ ตงั้ แต่ไตรมาส  ที่สามของปี 2563 จนถึงปัจจุบัน  มาตรการ VOA  (1 มี.ค. 61 31 ส.ค. 61)  สาขาที่พักแรมและบริการ  ด้านอาหารกลับมา  ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3  ไตรมาส ร้อยละ 34.1  ตามการกลับมาขยายตัว  ของการท่องเที่ยวภายใน  ประเทศ และการขยายตัว  ในเกณฑ์สูงของจานวน  นักท่องเที่ยวต่างประเทศ  อัตราเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่  ร้อยละ 36.15 สูงกว่า  ร้อยละ 26.25 ในไตรมาส  ก่อนหน้า และสูงกว่า  ร้อยละ 16.15 ในไตรมาส  เดียวกันของปีก่อน  สาขาการขายส่งและ  การขายปลีก การซ่อมยานยนต์  และจักรยานยนต์เพิ่มขึ้น  ร้อยละ 2.9 ตามการปรับตัว  ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องของ  การใช้จ่ายภาคครัวเรือน  และการขยายตัวต่อเนื่อง  ในเกณฑ์สูงของจานวน  นักท่องเที่ยวต่างประเทศ  สาขาการขนส่งและสถานที่  เก็บสินค้าเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง  เป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ  4.6 ตามการขยายตัวเร่งขึ้น  ของบริการขนส่งทาง  อากาศและการกลับมา  ขยายตัวเป็นครั้งแรก  ในรอบ 3 ไตรมาส  ของบริการขนส่งทางบก  และท่อลาเลียง เป็นสาคัญ  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 11  Economic Outlook NESDC  สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ: เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.0 เทียบกับ  การขยายตัวร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยกิจกรรมการผลิตไฟฟ้าขยายตัวเร่งขึ้น ตามการเพิ่มขึ้น  ของปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม เป็นสาคั ในขณะที่กิจกรรมโรงแยกก๊าซ  ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของดัชนีการผลิตไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้าและระบบ  ปรับอากาศร้อยละ 4.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ประกอบด้วย (1 กิจกรรม  การผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 5.0 เร่งขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้า  ตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้ไฟฟ้าในทุกกลุ่ม โดยเฉพาะภาคครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม ประกอบกับ  การกลับมาขยายตัวของภาคธุรกิจ และ (2 กิจกรรมโรงแยกก๊าซลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 3.2 เทียบกับ  การลดลงร้อยละ 2.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามปริมาณการผลิตก๊าซปิโตรเลียมเหลว โดยเป็นการลดลง  ของทุกประเภท ประกอบด้วย ก๊าซปิโตรเลียมเหลว โพเพน และบิวเทน ตามลาดับ  สาขาการก่อสร้าง: ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 5.5 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.8 ในไตรมาส  ก่อนหน้า ตามการลดลงของการก่อสร้างภาครัฐและการก่อสร้างภาคเอกชน ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก  การกลับมาแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอนภายในประทศ โดยในไตรมาสนี้การก่อสร้าง  ภาครัฐลดลงร้อยละ 3.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ 0.7 ในไตรมาสก่อนหน้า (การก่อสร้างของรัฐบาลลดลงร้อยละ  2.1 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 6.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจลดลงร้อยละ 6.9  เทียบกับการลดลงร้อยละ 14.8 ในไตรมาสก่อนหน้า และการก่อสร้างภาคเอกชนลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6  ร้อยละ 8.0 ตามการลดลงของการก่อสร้างที่อยู่อาศัย และการก่อสร้างอื่น ๆ เป็นสาคัญ ในขณะที่การก่อสร้าง  อาคารที่มิใช่ที่อยู่อาศัยขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ส่วนดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น  ไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 8.5 ตามการเพิ่มของดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก (เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1  หมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 และหมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต (เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 เป็นสาคัญ  ผมู้ งี นทา: จานวนผมู้ งี นทากลบั มาเพมิ่ ขนึ้ ครงั้ แรกในรอบ 2 ไตรมาส โดยเพมิ่ ขนึ้ ทงั้ ภาคเกษตรและภาคนอกเกษตร  ส่วนอัตราการว่างงานลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าและต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสแรกของปี 2565  จานวนผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 1.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยผู้มีงานทา  นอกภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 70.54 กลับมาขยายตัวร้อยละ 3.1 ตามการเพิ่มขึ้นผู้มีงานทา ในสาขาการขายส่ง  ขายปลีก และการซ่อมฯ และสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม จานวนผู้มีงานทา ในสาขา  การก่อสร้างและสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ร้อยละ 1.1 ในขณะที่ผู้มีงานทา  ภาคเกษตร (สัดส่วนร้อยละ 29.46 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6 ร้อยละ 3.0 สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของผลผลิต  สนิ คา เกษตรสาคญั บางรายการ เช่น ขา วเปลอื ก อ้อย และกลมุ่ ไมผ้ ล เป็นตน้ สาหรบั อตั ราการว่างงานในไตรมาสนอี้ ยทู่  ร้อยละ 1.53 ต่ากว่าร้อยละ 1.64 ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าร้อยละ 1.96 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมี  ผู้ว่างงานเฉลี่ยจานวน 6.1 แสนคน ต่ากว่าผู้ว่างงานจานวน 6.3 แสนคน ในไตรมาสก่อนหน้า และต่ากว่าผู้ว่างงาน  จานวน 7.6 แสนคน ในช่วงเดียวกันในปีก่อน  สาขาการไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า  และระบบปรับอากาศ  เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น  ไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 2.0  โดยกิจกรรมการผลิต  ไฟฟ้าขยายตัวเร่งขึ้น  ตามการเพิ่มขึ้นของ  ปริมาณการใช้ไฟฟ้า  ภาคครัวเรือนและ  ภาคอุตสาหกรรม ในขณะที่  กิจกรรมโรงแยกก๊าซ  ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง  เป็นไตรมาสที่ 3  สาขาการก่อสร้างลดลง  ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3  โดยการก่อสร้างภาครัฐ  ลดลงร้อยละ 3.9 และ  การก่อสร้างภาคเอกชน  ลดลงร้อยละ 8.0 สาหรับ  ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง  เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น  ไตรมาสที่ 6  จานวนผู้มีงานทากลับมา  ขยายตัวอีกครั้ง  ตามการกลับมาขยายตัว  ของผู้มีงานทานอกภาคเกษตร  และจากผู้มีงานทา  ในภาคเกษตรเพิ่มขึ้น  ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6  อัตราการว่างงานอยู่ที่  ร้อยละ 1.53 ต่ากว่า  ร้อยละ 1.64 ในไตรมาส  ก่อนหน้า และต่ากว่า  ร้อยละ 1.96 ในไตรมาส  เดียวกันของปีก่อน  0.0  0.6  1.2  1.8  2.4  36.0  36.4  36.8  37.2  37.6  38.0  38.4  38.8  39.2  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  61 62 63 64 65  การจ้างงาน อัตราการว่างงาน (แกนขวา  (ล้านคน (%)  ผู้มีงานทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 ตามการเพิ่มขึ้นทั้งภาคเกษตรและภาคนอกเกษตร  อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 1.53  ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.  การจ้างงานจาแนกตามสาขาการผลิต  %YOY สัดส่วน  Q1/65  2563 2564 2565  ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  ผู้มีงานทารวม 100.00 0.2 0.2 0.4 2.0 -0.6 -1.0 3.0  - ภาคเกษตร 29.46 -0.1 1.8 2.8 2.4 1.0 1.3 3.0  - นอกภาคเกษตร 70.54 0.3 -0.6 -0.6 1.8 -1.3 -2.1 3.1  การผลิตสินค้าอุตสาหกรรม 16.17 -2.4 -0.9 -2.2 -2.2 2.1 -1.2 2.6  การก่อสร้าง 6.19 1.9 -1.1 4.5 5.1 -7.3 -6.9 -1.1  การขายส่ง ขายปลีก และการซ่อมฯ 17.17 0.5 -0.4 -1.0 -1.4 0.2 0.7 5.8  ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 7.44 0.7 -3.1 -0.1 5.4 -9.3 -7.9 -1.1  กาลังแรงงานรวม (ล้านคน) 38.5 38.7 38.7 38.8 38.6 38.6 39.6  จานวนผู้มีงานทา (ล้านคน) 37.7 37.8 37.6 37.8 37.7 37.9 38.7  จานวนผู้ว่างงาน (ล้านคน) 0.65 0.75 0.76 0.73 0.87 0.63 0.61  อัตราการว่างงาน (%) 1.69 1.93 1.96 1.89 2.25 1.64 1.53  ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 12  Economic Outlook NESDC  สถานการณ์ด้านแรงงานในระบบประกันสังคม: จานวนผู้ประกันตนในระบบเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4  โดยสัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานต่อผู้ประกันตนตามมาตรา 33 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า  แต่ต่ากว่าไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ในไตรมาสแรกของปี 2565 ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมรวมเพิ่มขึ้น  ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 44.8 ตามการเพิ่มขึ้นของผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 40 ร้อยละ  201.1 (เกิดจากมาตรการบรรเทาผลกระทบต่อประชาชน กลุ่มแรงงานและผู้ประกอบการอันเนื่องมาจากข้อกาหนด  ตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ฉบับที่ 27 ตามมติ  ครม. เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2564 เป็นหลัก สาหรับผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (มาตรา 39 เพิ่มขึ้นร้อยละ  3.8 และผู้ประกันตนภาคบังคับตามมาตรา 33 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ 0.1 ในไตรมาสก่อนหน้า  สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานต่อผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ในไตรมาสนี้อยู่ที่ร้อยละ 2.7  สูงกว่าร้อยละ 2.3 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ต่ากว่าร้อยละ 3.1 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีผู้ประกันตน  ที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานตามมาตรา 33 เฉลี่ยจานวน 3.06 แสนคน สูงกว่าจานวน 2.53 แสนคน ในไตรมาส  ก่อนหน้า แต่ต่ากว่าจานวน 3.46 แสนคน ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  จานวนผู้ประกันตนใน  ระบบประกันสังคมเพิ่มขึ้น  ตอ่ เนอื่ งเป็นไตรมาสที่ 4  ร้อยละ 44.8 เกิดจาก  มาตรการช่วยเหลือ  ผู้ประกันที่ได้รับผลกระทบ  จากการแพร่ระบาดของ  โรคโควดิ -19 ตงั้ แตไ ตรมาส  ที่สามของปี 2564  เป็นหลัก  สาหรับผู้ประกันตนที่ได้รับ  ประโยชน์กรณีว่างงานต่อ  ผู้ประกันตนตามมาตรา 33  ในไตรมาสนอี้ ยทู่ รี่ อ้ ยละ  2.7 สูงกว่าร้อยละ 2.3  ในไตรมาสก่อนหน้า  แต่ต่ากว่าร้อยละ 3.1  ในไตรมาสเดียวกันของ  ปีก่อน  0.0  1.0  2.0  3.0  4.0  5.0  10  11  12  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  61 62 63 64 65  จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ สัดส่วนผู้ใช้บริการ กรณีว่างงาน (แกนขวา  จานวนผู้ประกันตนภาคบังคับ 11.2 ล้านคน  และสัดส่วนผู้ใช้บริการกรณีว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 2.7  ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน  (ล้านคน (%)  จานวนผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) และผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33  จานวน (พันคน)  2563 2564 2565  ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33 1/ 11,124 11,137 11,091 11,098 11,037 11,137 11,234  ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.39 2/ 1,800 1,938 1,850 1,897 1,956 1,938 1,920  ผู้ประกันตนตามความสมัครใจ (ม.40 3/ 3,509 10,665 3,576 3,612 10,449 10,665 10,767  รวมผู้ประกันตน (ม.33 ม.39 และม.40) 16,433 23,741 16,516 16,607 23,442 23,741 23,920  ผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 395 253 346 308 273 253 306  สัดส่วนผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์กรณีว่างงานจาก ม.33 (ร้อยละ) 3.6 2.3 3.1 2.8 2.5 2.3 2.7  ที่มา: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน  หมายเหตุ: 1/ ผู้ประกันตนภาคบังคับ (ม.33 คือ พนักงานบริษัทเอกชนทั่วไป ซึ่งมีสถานะเป็นลูกจ้างที่ทางานอยู่ในสถานประกอบการที่มี  พนักงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป อายุไม่ต่ากว่า 15 ปี และไม่เกิน 60 ปี  2/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.39 คือ บุคคลที่เคยทางานอยู่ในบริษัทเอกชนในมาตรา 33 มาก่อนแล้วลาออกแต่ต้องการรักษา  สิทธิประกันสังคมไว้ จึงสมัครเข้าใช้สิทธิประกันสังคมในมาตรา 39 แทน  3/ ผู้ประกันตนภาคสมัครใจ (ม.40 คือ ผู้ประกันตนในมาตรา 40 นี้ คือ บุคคลที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างในบริษัทเอกชนตามมาตรา 33  และไม่เคยสมัครเป็นผู้ประกันตนในมาตรา 39 ผู้ที่จะสมัครประกันสังคมในมาตรา 40 ได้นั้น ต้องเป็นผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ  หรือแรงงานนอกระบบ มีอายุไม่ต่ากว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 60 ปี  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 13  Economic Outlook NESDC  ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิตภาคเกษตร  ในปัจจุบันราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างยิ่งปุ๋ยเคมี ซึ่งถือเป็น  ต้นทุนการผลิตที่สาคั ของภาคการเกษตรของไทย จากข้อมูลโครงสร้างมูลค่าปัจจัยการผลิตขั้นกลาง พบว่าปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืช  มีสัดส่วนร้อยละ 42.16 บริการทางการเกษตร ร้อยละ 8.01 ผลิตผลทางการเกษตรอื่น ๆ อาทิ เมล็ดพันธุ์พืช กิ่งพันธุ์ ร้อยละ 6.98 น้ามัน  เชื้อเพลิง ร้อยละ 6.46 และปัจจัยอื่น ๆ ร้อยละ 36.39 ทั้งนี้ ในไตรมาสแรกของปี 2565 ราคาปุ๋ยไนโตรเจน (Nitrogen: N) สาเร็จรูป  ในตลาดโลกอยู่ที่ 832.81 ดอลลาร์ สรอ. ต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 162.2 (%YoY) เนื่องจาก (1) ข้อจากัดทางด้านอุปทานการผลิตและการส่งออก  โดยเป็นผลจากประเทศผู้ผลิตและส่งออกปุ๋ยไนโตรเจนรายใหญ่ของโลกมีการจากัดการส่งออก อาทิ จีน (นโยบายความมั่นคงทางอาหาร  และรัสเซีย (สถานการณ์ความขัดแย้งและการคว่าบาตร รวมทั้งการกักตุนปุ๋ยไนโตรเจนในบางประเทศ และ (2) ต้นทุนการผลิตปุ๋ย  ไนโตรเจนปรับตัวเพิ่มขึ้น ตามราคาก๊าซธรรมชาติที่เป็นวัตถุดิบหลัก ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของค่าขนส่งและค่าระวางเรือโดยการเพิ่มขึ้นของ  ราคาปุ๋ยในตลาดโลก ส่งผลให้ราคาปุ๋ยในประเทศเพิ่มขึ้น โดยในไตรมาสแรกของปี 2565 ราคาปุ๋ยไนโตรเจนขายส่งกรุงเทพฯ อยู่ที่ 20,185  บาทต่อตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 148.7 ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อเกษตรกรผู้ปลูกพืชเกษตรชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะที่มีสัดส่วนการใช้ปุ๋ยเป็นปัจจัย  การผลิต อาทิ ปาล์มน้ามัน ข้าวเปลือก กลุ่มไม้ผล ยางพารา อ้อย และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์  ภายใต้สถานการณ์ต้นทุนปุ๋ยเคมีที่เพิ่มขึ้น ปริมาณปุ๋ยเคมีภายในประเทศมีแนวโน้มลดลง โดยเมื่อพิจารณาการนาเข้าปุ๋ยเคมีของไทย  พบว่าในไตรมาสแรกของปี 2565 ไทยมีการนาเข้าปุ๋ยเคมีจานวน 671,604 ตัน (ลดลงร้อยละ 22.1 แบ่งเป็น (1 แม่ปุ๋ยเคมี (สัดส่วนร้อยละ  71.34 ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอุตสาหกรรมสาขาปุ๋ยเคมีและสารประกอบไนโตรเจน มีปริมาณการนาเข้าอยู่ที่ 479,105 ตัน (ลดลง  ร้อยละ 24.2 และ (2 ปุ๋ยเคมีสาเร็จรูป ซึ่งผ่านการผสมมาแล้วโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการผลิตอีกครั้ง (สัดส่วนร้อยละ 28.66  มีปริมาณการนาเข้าอยู่ที่ 479,105 ตัน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.4 ขณะเดียวกัน สถานการณ์สต็อกปุ๋ยเคมี ในไตรมาสแรกของปี 2565 มีปริมาณ  การผลิตและปริมาณสินค้าคงคลังอยู่ที่ 231,889 ตัน (ลดลงร้อยละ 18.1 ปริมาณการจาหน่ายอยู่ที่ 109,563 ตัน (ลดลงร้อยละ 32.2 และ  ดัชนีปุ๋ยเคมีสาเร็จรูปคงคลังอยู่ที่ระดับ 45.97 (ลดลงร้อยละ 26.2  ดังนั้น แนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรเพื่อลดผลกระทบในเรื่องของต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นภาครัฐควรเร่งดาเนินการมาตรการต่าง ๆ  อาทิ การดูแลการป้องกันการกักตุนปุ๋ยเคมีและปัจจัยการผลิตของผลผลิตทางการเกษตรที่สาคัญ การส่งเสริมและให้ความรู้เกษตรกรเกี่ยวกับ  วิธีการใช้ปุ๋ยเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ (ถูกชนิด ถูกสูตร ถูกอัตรา ถูกเวลา และถูกวิธี ตามสโลแกนของสมาคมการค้าปุ๋ยและธุรกิจการเกษตรไทย  และการส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพได้ด้วยตนเองและลดการพึ่งพิงการนาเข้าปุ๋ยจาก  ต่างประเทศ  229.10  832.81  -40.0  -20.0  0.0  20.0  40.0  60.0  80.0  100.0  120.0  140.0  160.0  180.0  0  100  200  300  400  500  600  700  800  900  61 62 63 64 Q1/65  บาท/ตัน %YoY  ราคาปุ๋ยไนโตรเจนสาเร็จรูปในตลาดโลก Gr.ราคาปุ๋ยไนโตรเจนสาเร็จรูปในตลาดโลก (RHS)  ที่มา: ธนาคารโลก  สถานการณ์ราคาปุ๋ยไนโตรเจนสาเร็จรูปในตลาดโลก  56.07  6.72  -25.0  -20.0  -15.0  -10.0  -5.0  0.0  5.0  10.0  0  10  20  30  40  50  60  61 62 63 64 Q1/65  แสนตัน %YoY  ปริมาณนาเข้าปุ๋ยเคมี Gr. ปริมาณนาเข้าปุ๋ยเคมี (RHS)  ที่มา: สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์  ปริมาณนาเข้าปุ๋ยเคมี  62.28  41.66 45.97  -60.0  -40.0  -20.0  0.0  20.0  0  20  40  60  80  100  120  140  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  62 63 64 65  % (%YoY)  ดัชนีปุ๋ยเคมีคงคลังสาเร็จรูป (ปี 2559 100 Gr.ดัชนีปุ๋ยเคมีคงคลังสาเร็จรูป (RHS)  ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม  ดัชนีปุ๋ยเคมีสาเร็จรูปคงคลัง  2.83 2.70 2.32  1.62 1.48 1.10  -40.0  -20.0  0.0  20.0  40.0  60.0  80.0  0.00  1.00  2.00  3.00  4.00  5.00  6.00  7.00  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  62 63 64 65  แสนตัน (%YoY)  ปริมาณการผลิตและสินค้าคงคลัง ปริมาณการจาหน่ายภายในประเทศ  Gr.ปริมาณการผลิตและสินค้าคงคลัง (RHS) Gr.ปริมาณการจาหน่ายภายในประเทศ (RHS)  ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม  สถานการณ์ปริมาณปุ๋ยเคมีที่ผ่านกระบวนการผลิต  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 14  Economic Outlook NESDC  สถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศของเมืองท่องเที่ยวหลักและเมืองท่องเที่ยวรอง  หมายเหตุ: เมืองท่องเที่ยวหลักมีจานวน 22 จังหวัด ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา สระบุรี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ  สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี ระยอง ภูเก็ต กระบี่ สงขลา พังงา สุราษฎร์ธานี เชียงใหม่ ขอนแก่น และนครราชสีมา  เมืองท่องเที่ยวรองมีจานวน 55 จังหวัด ประกอบด้วย ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ราชบุรี สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี จันทบุรี ตราด นครนายก  ปราจีนบุรี สระแก้ว พัทลุง ตรังระนอง ชุมพร ปัตตานี ยะลา นครศรีธรรมราช นราธิวาส สตูล กาแพงเพชร เชียงราย พิจิตร นครสวรรค์ ตาก พิษณุโลก  พะเยา เพชรบูรณ์ แพร่ ลาปาง ลาพูน แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ อุทัยธานี สุโขทัย น่าน กา สินธุ์ ชัยภูมิ นครพนม บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด  เลย ศรีสะเกษ สุรินทร์ หนองคาย บึงกา อุดรธานี อุบลราชธานี สกลนคร ยโสธร อานาจเจริญ และหนองบัวลาภู  สถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศของไทยในไตรมาสแรกของปี 2565 พบว่า มีผู้เยี่ยมเยือนรวมจานวน 47.44 ล้านคน สร้างรายรับ  จากการท่องเที่ยวมูลค่ารวม 1.73 แสนล้านบาท ลดลงร้อยละ 40.8 และร้อยละ 76.0 เมื่อเทียบกับปี 2562 ช่วงก่อนการแพร่ระบาดของ  โรคโควิด-19 ตามลาดับ โดยแบ่งเป็นผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยจานวน 46.09 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 97.14 และผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศ  จานวน 1.36 ล้านคน (สัดส่วนร้อยละ 2.86 ซึ่งช่วยสร้างรายรับมูลค่า 1.44 (สัดส่วนร้อยละ 83.34 และ 0.29 แสนล้านบาท (สัดส่วนร้อยละ  16.66 ตามลาดับ  เมื่อพิจารณาตามพื้นที่ของเมืองท่องเที่ยว ซึ่งแบ่งเป็นเมืองท่องเที่ยวหลักจานวน 22 จังหวัด (สัดส่วนร้อยละ 63.55 ของจานวนผู้เยี่ยมเยือน  รวมและ 77.05 ของรายรับจากผู้เยี่ยมเยือนรวม และเมืองท่องเที่ยวรองจานวน 55 จังหวัด (สัดส่วนร้อยละ 36.45 ของจานวนผู้เยี่ยมเยือน  รวมและ 22.95 ของรายรับจากผู้เยี่ยมเยือนรวม พบว่า จังหวัดที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยสูงกว่าระดับก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19  (ปี 2562 ประกอบด้วย เมืองท่องเที่ยวหลักจานวน 8 จังหวัด และเมืองท่องเที่ยวรองจานวน 13 จังหวัด  ด้านรายรับจากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยพบว่ามีเมืองท่องเที่ยวจานวน 11 จังหวัด ที่มีรายรับผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยสูงกว่าระดับก่อนการแพร่  ระบาดของโรคโควิด-19 (ปี 2562 ประกอบด้วย เมืองท่องเที่ยวหลักจานวน 4 จังหวัด และเมืองท่องเที่ยวรองจานวน 7 จังหวัด  ขณะเดียวกัน เมื่อพิจารณาในส่วนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศพบว่า จังหวัดที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศสูงกว่าระดับก่อนการแพร่  ระบาดของโรคโควิด-19 (ปี 2562 มีเมืองท่องเที่ยวรองจานวน 2 จังหวัด ได้แก่ บึงกา และสกลนคร สาหรับรายรับพบว่า เมืองท่องเที่ยวที่มี  รายรับผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศสูงกว่าระดับก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ปี 2562 มีเมืองท่องเที่ยวรองจานวน 1 จังหวัด ได้แก่  บึงกา  สาหรับจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนรวมทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศสูงที่สุด 3 อันดับแรกในปี 2565 (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร ยังคงเป็น  เมืองท่องเที่ยวหลัก ได้แก่ ชลบุรี จานวน 2,830,394 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.97 ของผู้เยี่ยมเยือนรวมทั้งหมด (ลดลงร้อยละ 39.0  กาญจนบุรี จานวน 2,780,777 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.86 (เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.66 และเชียงใหม่ จานวน 2,182,516 คน คิดเป็นสัดส่วน  ร้อยละ 4.60 (ลดลงร้อยละ 28.1 ตามลาดับ ส่วนกรุงเทพมหานครมีจานวน 7,563,188 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.94 (ลดลงร้อยละ  53.76 ดังนั้นในการส่งเสริมการท่องเที่ยวระยะต่อไป ภาครัฐควรต้องให้ความสาคัญทั้งเมืองท่องเที่ยวหลักและเมืองท่องเที่ยวรอง โดยมุ่งเน้น  การพัฒนาเส้นทางและโปรแกรมการท่องเที่ยวจากเมืองท่องเที่ยวหลักให้เชื่อมกับเมืองท่องเที่ยวรองผ่านการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิง  วัฒนธรรมชุมชน เพื่อกระจายรายรับจากการท่องเที่ยว สู่เมืองท่องเที่ยวรองให้มากขึ้น และส่งเสริมให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวได้  ทุกช่วงเวลา/ทุกเทศกาล เพื่อสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวตลอดทั้งปี  8 13 14  42  0 2  22  53  0  77  เมืองหลัก เมืองรอง  จานวนจังหวัดที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนในไตรมาสแรกของปี 2565  เปรียบเทียบกับระดับก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19  จานวนจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยมากกว่าปี 2562  จานวนจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยน้อยกว่าปี 2562  จานวนจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศมากกว่าปี 2562  จานวนจังหวัดที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศน้อยกว่าปี 2562  4 7  18  48  0 1  22  54  0  77  เมืองหลัก เมืองรอง  จานวนจังหวัดที่มีรายรับจากผู้เยี่ยมเยือนในไตรมาสแรกของปี 2565  เปรียบเทียบกับระดับก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19  จานวนจังหวัดที่มีรายรับจากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยมากกว่าปี 2562  จานวนจังหวัดที่มีรายรับจากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยน้อยกว่าปี 2563  จานวนจังหวัดที่มีรายรับจากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศมากกว่าปี 2562  จานวนจังหวัดที่มีรายรับจากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศน้อยกว่าปี 2563  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 15  Economic Outlook NESDC  ด้านการคลัง  การจัดเก็บรายได้รัฐบาล ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2565 (มกราคม - มีนาคม 2565 รัฐบาลจัดเก็บ  รายได้สุทธิ 532,249.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.8 โดยการจัดเก็บรายได้ของ  กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.0 ร้อยละ 4.2 และร้อยละ 6.0 ตามลาดับ  เป็นผลมาจาก (1 การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.8 ตามการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้า  รวมทั้งการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.1 และร้อยละ 6.6  (2) การจัดเก็บภาษีเบียร์เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.8 เนื่องจากการดาเนินมาตรการจากัดเวลาการจาหน่ายเครื่องดื่ม  แอลกอฮอล์ในร้านอาหารและการปิดสถานบันเทิงเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 ในไตรมาส  เดียวกันของปีก่อน ประกอบกับการเพิ่มปริมาณการผลิตเบียร์เพื่อรองรับการบริโภคในช่วงเทศกาลสงกรานต์  และ (3 การจัดเก็บภาษีศุลกากรเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 ตามการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้าสินค้า โดยเฉพาะ  หมวดสินค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.9  รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,091,156.4 ล้านบาท สูงกว่าช่วง  เดียวกันของปีก่อนร้อยละ 6.8 และสูงกว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณ ร้อยละ 6.7 โดยการจัดเก็บ  รายได้ของกรมสรรพากร กรมศุลกากร และการนาส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจสูงกว่าประมาณการตามเอกสาร  งบประมาณ ร้อยละ 13.5 ร้อยละ 4.8 และร้อยละ 14.7 ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บรายได้ของ  กรมสรรพสามิตต่ากว่าประมาณการร้อยละ 5.8 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการลดอัตราภาษีสรรพสามิตสาหรับน้ามัน  ดีเซลลิตรละ 3 บาทในระหว่างวันที่ 18 กุมภาพันธ์ - 20 พฤษภาคม 2565 เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของ  ประชาชนจากราคาน้ามันดิบในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้น  การใช้จ่ายของรัฐบาล ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายงบประมาณรวมทั้งสิ้น  828,255.3 ล้านบาท1 ลดลงร้อยละ 12.8 จาแนกเป็นรายจ่ายประจา 643,365.3 ล้านบาท ลดลงจาก  ช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16.8 และรายจ่ายลงทุน 184,890.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน  ร้อยละ 4.6 ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2565 จานวน 606,382.7 ล้านบาท  ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 1.1 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 19.6 สูงกว่าร้อยละ 18.7  ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน จาแนกเป็น (i) รายจ่ายประจา 515,280.2 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายอยู่ที่  ร้อยละ 20.6 เทียบกับร้อยละ 19.6 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 2.1  โดยเป็นผลมาจากการเบิกจ่ายในหมวดงบรายจ่ายอื่น เป็นสาคัญ และ (ii) รายจ่ายลงทุน 91,102.5 ล้านบาท  (อัตราการเบิกจ่ายอยู่ที่ร้อยละ 15.1 เทียบกับร้อยละ 14.3 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจาก  ช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.3 ตามการเพิ่มขึ้นของการเบิกจ่ายในหมวดเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ และหมวด  ที่ดินและสิ่งก่อสร้างเป็นสาคัญ  รวม 6 เดือนแรกของ  ปีงบประมาณ 2565  การจัดเก็บรายได้รัฐบาล  สูงกว่าช่วงเดียวกันของ  ปีก่อนและสูงกว่าประมาณ  การร้อยละ 6.8 และร้อยละ  6.7 ตามลาดับ  ในไตรมาสที่สอง  ปีงบประมาณ 2565  การจัดเก็บรายได้รัฐบาล  เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.8  ตามการจัดเก็บรายได้  ของกรมสรรพกร  กรมสรรพสามิต และ  กรมศุลกากร  ในไตรมาสที่สอง  ปีงบประมาณ 2565  การใช้จ่ายของรัฐบาล  ลดลงร้อยละ 12.8 ตาม  การเบิกจ่ายงบประมาณ  รายจ่ายประจาปี และ  เงินกู้ พ.ร.ก. โควิด-19  ขณะที่การเบิกจ่าย  งบลงทุนรัฐวิสาหกิจ  เพิ่มขึ้น  ในไตรมาสที่สอง  ปีงบประมาณ 2565  การเบิกจ่ายงบประมาณ  รายจ่ายประจาปีลดลง  ร้อยละ 1.1 โดยมีอัตรา  การเบิกจ่ายร้อยละ 19.6  แบ่งเป็น อัตราการเบิกจ่าย  รายจ่ายประจา และ  รายจ่ายลงทุนร้อยละ  20.6 และร้อยละ 15.1  ตามลาดับ  -40  -20  0  20  40  60  80  100  -400,000  -200,000  0  200,000  400,000  600,000  800,000  1,000,000  1,200,000  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2  61 62 63 64 65  ล้านบาท ร้อยละ  ที่มา: GFMIS  การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี  รายจ่ายลงทุน (แกนซ้าย  รายจ่ายประจา (แกนซ้าย  อัตราการขยายตัวของการเบิกจ่ายรวม (แกนขวา  1 การใช้จ่ายของรัฐบาล ประกอบด้วย (1 งบประมาณรายจ่ายประจาปี (2 งบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี (3 งบลงทุนรัฐวิสาหกิจโดยไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด  (มหาชน และรายจ่ายลงทุนรฐั วสิ หกจิ ทไ ดร้ บั การจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปแ ละงบประมาณกนั ไวเ บกิ เหลอื่ มปี และ (4 เงนิ กภู้ ยใต้ พ.ร.ก. กเ งนิ โควดิ -19  วงเงินรวม 1.5 ล้านล้านบาท  2 รวมงบลงทุนรัฐวิสาหกิจในงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 4,708.8 ล้านบาท  19.6  15.1  0  5  10  15  20  25  30  35  Q2/54 Q2/55 Q2/56 Q2/57 Q2/58 Q2/59 Q2/60 Q2/61 Q2/62 Q2/63 Q2/64 Q2/65  ร้อยละ  ที่มา: GFMIS  อัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีในไตรมาสที่สอง  เทียบกับอัตราการเบิกจ่ายเฉลี่ย  อัตราการเบิกจ่ายรวม อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน  อัตราการเบิกจ่ายรวมเฉลี่ย อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนเฉลี่ย  เฉลี่ย = 21.9  เฉลี่ย = 17.6  (2) การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 57,614.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปี  ก่อนร้อยละ 6.6 โดยมีอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 24.3 ต่ากว่าร้อยละ 25.0 ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (ไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน จานวน 54,955.0 ล้านบาท2  เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 12.1 โดยเป็นผลจากการเบิกจ่ายของการรถไฟแห่งประเทศไทย  เป็นสาคัญ และ (4) การเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 พ.ศ. 2563 - 2564 (2 ฉบับ วงเงิน 1.5  ล้านล้านบาท) จานวน 114,011.9 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 52.1  โดยเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์ทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อแก้ไขปัญหา  การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จานวน 62,264.8 ล้านบาท แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์  16  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  NESDC  Economic Outlook  เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้กับภาคประชาชน เกษตรกร และผู้ประกอบการ ซึ่งได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จานวน 9,388.9 ล้านบาท และแผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 จานวน 42,358.3 ล้านบาท  รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2565 มีการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐรวม 2,123,297.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.5 ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2565 จานวน 1,589,924.2 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 51.3 สูงกว่าร้อยละ 47.2 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน แบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา 1,401,886.0 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 56.2 สูงกว่าร้อยละ 51.9 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน 188,038.1 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 31.1 สูงกว่าร้อยละ 26.4 ในช่วงเดียวกันของปีก่อน (2) การเบิกจ่ายงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 133,144.5 ล้านบาท (อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 56.1 (3) การเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ (ไม่รวมบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)) จานวน 108,563.0 ล้านบาท3 ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจที่มีการเบิกจ่าย งบลงทุนสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ การรถไฟแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าฝ่ายผลิต การไฟฟ้านครหลวง และการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และ (4) การเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 พ.ศ. 2563 - 2564 (วงเงิน 1.5 ล้านล้านบาท) จานวน 304,552.0 ล้านบาท โดยเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์ทางการแพทย์และสาธารณสุขฯ จานวน 101,482.5 ล้านบาท แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้กับภาคประชาชน เกษตรกร และผู้ประกอบการฯ จานวน 53,706.9 ล้านบาท และแผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมฯ จานวน 149,362.6 ล้านบาท  ทั้งนี้ ณ วันที่ 27 เมษายน 2565 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 รวมทั้งสิ้น 1,303,116.6 ล้านบาท โดยเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์ทางการแพทย์และสาธารณสุขฯ จานวน 170,312.1 ล้านบาท แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้กับ ภาคประชาชน เกษตรกร และผู้ประกอบการฯ จานวน 853,975.7 ล้านบาท และแผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมฯ จานวน 278,828.8 ล้านบาท  3 รวมรายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจที่ได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีและงบประมาณกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 12,886.3 ล้านบาท  ผลการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. กู้เงินโควิด-19 พ.ศ. 2563 - 2564 (วงเงิน 1.5 ล้านล้านบาท)  หน่วย : ล้านบาท  แผนงาน  กรอบวงเงิน  วงเงินอนุมัติ  ผลการเบิกจ่าย  ร้อยละ (วงเงินอนุมัติ)  คงเหลือ  แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์ทางการแพทย์และสาธารณสุขฯ  214,309.0  213,792.5  170,312.1  79.66  43,480.4  แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา ชดเชยให้กับภาคประชาชน เกษตรกร และผู้ประกอบการ  894,348.0  869,430.9  853,975.7  98.22  15,455.2  แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมฯ  391,343.0  325,091.3  278,828.8  85.77  46,262.5  รวม  1,500,000.0  1,408,314.8  1,303,116.6  92.53  105,198.1  ที่มา: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ข้อมูล ณ วันที่ 27 เมษายน 2565  หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565 มีมูลค่าทั้งสิ้น 9,951,962.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 60.6 ของ GDP ประกอบด้วย เงินกู้ภายในประเทศ 9,773,857.5 ล้านบาท (ร้อยละ 59.6 ของ GDP) และเงินกู้จากต่างประเทศ 178,105.2 ล้านบาท (ร้อยละ 1.1 ของ GDP) โดยแบ่งเป็นหนี้ของรัฐบาล 8,814,545.0 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 876,454.7 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาล ค้าประกัน 253,945.6 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 7,017.5 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 88.6 ร้อยละ 8.8 ร้อยละ 2.6 และร้อยละ 0.1 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลาดับ  ฐานะการคลัง: ในไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลขาดดุลงบประมาณ 89,298 ล้านบาท เมื่อรวมกับการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ 21,722 ล้านบาท และการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 134,693 ล้านบาท ทาให้รัฐบาลเกินดุลเงินสดสุทธิ 23,673 ล้านบาท และเมื่อรวมกับเงินคงคลัง ณ สิ้นไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2565 จานวน 337,182 ล้านบาท ส่งผลให้ฐานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 360,855 ล้านบาท  รวม 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2565 รัฐบาลมีการขาดดุลงบประมาณ 615,785 ล้านบาท เมื่อรวมกับการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ 51,820 ล้านบาท และมีการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 439,713 ล้านบาท ส่งผลให้รัฐบาลยังคงขาดดุลเงินสดหลังกู้สุทธิ 227,892 ล้านบาท  หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565 อยู่ที่ร้อยละ 60.6 ของ GDP  ฐานะเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565 มีจานวนทั้งสิ้น 360,855 ล้านบาท  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 17  Economic Outlook NESDC  ภาวะการเงิน  อัตราดอกเบี้ยนโยบายทรงตัวอยู่ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี  ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2565 คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง. ในการประชุมครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่  9 กุมภาพันธ์ 2565 และครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2565 มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ  0.50 ต่อปี เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจให้มีความต่อเนื่อง โดย กนง. ประเมินว่า เศรษฐกิจไทยในปี  2565 - 2566 มีแนวโน้มขยายตัวตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ในประเทศและภาคการท่องเที่ยว อย่างไรก็ดี  เศรษฐกิจยังมีความเสี่ยงจากปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบในบางอุตสาหกรรม รวมถึงการปรับเพิ่มขึ้นของราคา  พลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ เนื่องจากสถานการณ์ระหว่างรัสเซีย-ยูเครนที่อาจยืดเยื้อ ซึ่งจะส่งผลให้ค่าครอง  ชีพและต้นทุนการผลิตภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจในกลุ่มเปราะบางปรับตัวสูงขึ้น ด้านอัตราเงินเฟ้อทั่วไป  ในปี 2565 มีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากราคาพลังงานและการส่งผ่านต้นทุนในหมวดอาหาร และจะปรับลดลง  เข้าสู่กรอบเป้าหมายในปี 2566 นอกจากนี้ เห็นว่าอัตราเงินเฟ้อที่ปรับสูงขึ้นเป็นผลจากปัจจัยด้านอุปทาน  ขณะที่แรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ยังอยู่ในระดับต่า ทั้งนี้ การดาเนินนโยบายการเงินของไทยสอดคล้องกับ  ประเทศเศรษฐกิจส่วนใหญ่ในภูมิภาคที่คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับเดียวกับไตรมาสก่อนหน้า อาทิ  ธนาคารกลางญี่ปุ่น จีน อินเดีย และมาเลเซีย คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ (-0.10 ร้อยละ 4.35 ร้อยละ  4.00 และร้อยละ 1.75 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่ประเทศเศรษฐกิจหลักดาเนินนโยบายการเงินในทิศทาง  ที่เข้มงวดขึ้น โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ อังกฤษ แคนาดา เกาหลีใต้ และนิวซีแลนด์ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย  นโยบายมาอยู่ที่ร้อยละ 0.25 - 0.50 ร้อยละ 0.75 ร้อยละ 0.50 ร้อยละ 1.25 และร้อยละ 1.00 ต่อปี เทียบกับ  ร้อยละ 0.00 - 0.25 ร้อยละ 0.25 ร้อยละ 0.25 ร้อยละ 1.00 และร้อยละ 0.75 ต่อปี ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ  ในเดือนเมษายน 2565 ธนาคารกลางของแคนาดา เกาหลีใต้ และนิวซีแลนด์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย  เป็นร้อยละ 1.00 ร้อยละ 1.50 และร้อยละ 1.50 ต่อปี ตามลาดับ  ล่าสุดเดือนพฤษภาคม 2565 ธนาคารกลางสหรัฐฯ ออสเตรเลีย อังกฤษ อินเดีย และมาเลเซีย ปรับขึ้นอัตรา  ดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 0.75 - 1.00 ร้อยละ 0.35 ร้อยละ 1.00 ร้อยละ 4.40 และร้อยละ 2.00 ตามลาดับ  ธนาคารแห่งประเทศไทย  คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย  ไว้ที่ระดับเดิม สอดคล้องกับ  ธนาคารกลางของประเทศ  ในภูมิภาคส่วนใหญ่  ขณะที่ธนาคารกลางของ  ประเทศเศรษฐกิจหลัก  ดาเนินนโยบายทางการเงิน  เข้มงวดมากขึ้น อาทิ  สหรัฐฯ อังกฤษ และ  แคนาดา เป็นต้น  0  10  20  30  40  50  60  70  0  2,000  4,000  6,000  8,000  10,000  12,000  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2  61 62 63 64 65  พันล้านบาท ร้อยละ  ที่มา: สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ  หนี้สาธารณะคงค้าง  หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ หนี้สาธารณะคงค้าง ต่อ GDP (แกนขวา  0  50,000  100,000  150,000  200,000  250,000  300,000  350,000  400,000  0  100,000  200,000  300,000  400,000  500,000  600,000  700,000  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2  61 62 63 64 65  ที่มา: กระทรวงการคลัง  สถานะเงินคงคลัง  สถานะเงินคงคลัง ณ สิ้นงวด (แกนซ้าย  กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (แกนขวา  ล้านบาท ล้านบาท  อัตราดอกเบี้ยนโยบาย  (ร้อยละ)  ณ สิ้นงวด  2563 2564 2565  ทั้งปี ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.  สหรัฐฯ 0.00-0.25 0.00-0.25 0.00-0.25 0.00-0.25 0.00-0.25 0.00-0.25 0.25-0.50 0.00-0.25 0.00-0.25 0.25-0.50 0.25-0.50 0.75-1.00  อังกฤษ 0.10 0.25 0.10 0.10 0.10 0.25 0.75 0.25 0.50 0.75 0.75 1.00  แคนาคา 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.50 0.25 0.25 0.50 1.00 1.00  เกาหลีใต้ 0.50 1.00 0.50 0.50 0.75 1.00 1.25 1.25 1.25 1.25 1.50 1.50  รัสเซีย 4.25 8.50 4.50 5.50 6.75 8.50 20.00 8.50 20.00 20.00 14.00 14.00  นิวซีแลนด์ 0.25 0.75 0.25 0.25 0.25 0.75 1.00 0.75 1.00 1.00 1.50 1.50  สหภาพยุโรป 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00  ญี่ปุ่น -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10 -0.10  ออสเตรเลีย 0.10 0.10 0.10 0.10 0.10 0.10 0.10 0.10 0.10 0.10 0.10 0.35  จีน 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35 4.35  อินเดีย 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.40  อินโดนีเซีย 3.75 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50 3.50  ฟิลิปปินส์ 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00  มาเลเซีย 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 1.75 2.00  ไทย 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50  ที่มา: รวบรวมโดย สศช. ข้อมูล ณ วันที่ 13 พฤษภาคม 2565  18  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  NESDC  Economic Outlook  ณ สิ้นไตรมาสแรกธนาคารพาณิชย์ และ SFIs คงอัตราดอกเบี้ย เงินกู้ยืม และเงินฝาก ไว้ที่ระดับเดียวกับไตรมาสก่อนหน้า  ธนาคารพาณิชย์ขนาดให่ ธนาคารพาณิชย์ขนาดกลาง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) คงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้และเงินฝากต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า โดยธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจคงอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดี (MLR) ไว้ที่เฉลี่ยร้อยละ 5.49 ต่อปี ร้อยละ 6.60 ต่อปี และร้อยละ 6.13 ต่อปี และคงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือน ไว้ที่เฉลี่ยร้อยละ 0.45 ต่อปี ร้อยละ 0.50 ต่อปี และร้อยละ 0.93 ต่อปี ตามลาดับ สาหรับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่แท้จริง ยังอยู่ในระดับเดียวกับไตรมาสก่อน ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ MLR ที่แท้จริงเฉลี่ยลดลงตามการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในประเทศ  ในเดือนเมษายน 2565 ธนาคารพาณิชย์คงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ไว้ในระดับเดียวกับเดือนก่อนหน้า ขณะที่สถาบันการเงินเฉพาะกิจปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนเฉลี่ยมาอยู่ที่ ร้อยละ 0.90 ต่อปี  สินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวต่อเนื่อง ณ สิ้นไตรมาสแรกของปี 2565 ยอดสินเชื่อคงค้างภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.1 ชะลอตัวลงจาก การขยายตัวร้อยละ 4.3 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อธุรกิจขยายตัวร้อยละ 5.7 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 6.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ สินเชื่อธุรกิจปรับตัวเพิ่มขึ้นตามความต้องการสินเชื่อเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนรองรับต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น และรองรับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะธุรกิจในภาคบริการ ประกอบกับการดาเนินมาตรการสนับสนุนการให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบธุรกิจ (มาตรการสินเชื่อฟื้นฟูฯ ภายใต้วงเงิน 250,000 ล้านบาท มีความคืบหน้าต่อเนื่อง โดย ณ วันที่ 25 เมษายน 2565 มีการอนุมัติสินเชื่อแล้วทั้งสิ้น 168,572 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 67.43 ของวงเงิน ด้านสินเชื่อครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 3.2 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อครัวเรือนปรับตัวเพิ่มขึ้นตามสินเชื่อบัตรเครดิตและสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภค ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการดาเนินมาตรการส่งเสริมการใช้จ่ายของภาครัฐ และการขยายตัวของสินเชื่อที่อยู่อาศัยจากกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ประจา สาหรับสินเชื่อในระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.1 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.4 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อธุรกิจขยายตัวร้อยละ 7.4 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 8.2 ในไตรมาสก่อนหน้า และสินเชื่อครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 2.8 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 3.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ด้านสินเชื่อคงค้าง ในระบบธนาคารพาณิชย์ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.7 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยสินเชื่อธุรกิจ และสินเชื่อครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 5.5 และร้อยละ 3.8 ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 5.7 และร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ  สาหรับสินเชื่อในระบบธนาคารพาณิชย์ในสาขาสาคัญ ๆ ที่ขยายตัว ได้แก่ สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า (ขยายตัวร้อยละ 13.0 สาขาการผลิต (ขยายตัวร้อยละ 9.3 สาขาการขายส่ง การขายปลีก และการซ่อมยานยนต์และจักรยานยนต์ (ขยายตัวร้อยละ 9.1 และสาขาการก่อสร้าง (ขยายตัวร้อยละ 5.8 ในส่วนของสินเชื่อคงค้างในสาขาสาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ สาขาข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร (ลดลงร้อยละ 7.9 สาขากิจการทางการเงินและการประกันภัย ( ลดลงร้อยละ 1.32 และสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร (ลดลงร้อยละ 0.8 ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคลขยายตัวร้อยละ 3.3 ชะลอตัวลงจากการขยายตัวร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ในส่วนของสินเชื่อคงค้างที่ให้กู้ยืมแก่ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ไม่รวมกิจกรรมทางการเงินและประกันภัย ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้าร้อยละ 5.7 สอดคล้องกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ สาหรับสินเชื่อคงค้างในสาขาสาคัญ ๆ ที่ขยายตัว ได้แก่ สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า และสาขาก่อสร้าง ขณะที่สินเชื่อคงค้างในสาขาที่สาคัญ ๆ ที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ สาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้าและระบบปรับอากาศ และสาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง  สินเชื่อภาคเอกชนของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวทั้งในระบบธนาคารพาณิชย์และ SFIs  4.34.1-20246810-20246810Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4Q159606162636465%YOY%YOYสินเชื่อภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ) ของสถาบันรับฝากเงินขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าสินเชื่อภาคเอกชน (รวมดอกเบี้ยค้างรับ สินเชื่อธุรกิจ (แกนขวา สินเชื่อครัวเรือน (แกนขวา ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 19  Economic Outlook NESDC  อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสแรกของปี 2565  ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 33.07 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากค่าเฉลี่ย 33.37 บาทต่อดอลลาร์ สรอ.  ในไตรมาสก่อนหน้า หรือคิดเป็นร้อยละ 0.90 ทั้งนี้ ค่าเงินบาทในช่วงไตรมาสแรกเคลื่อนไหวผันผวน  โดยในช่วงต้นไตรมาสเคลื่อนไหวในทิศทางแข็งค่าขึ้นเนื่องจาก (1 สัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ  ภายในประเทศ ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของภาครัฐ โดยเฉพาะ  ภายหลังการนามาตรการเดินทางเข้าประเทศโดยไม่ต้องกักตัว (Test & Go) กลับมาบังคับใช้ (2 ภาคการส่งออก  ของไทยที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง และ (3 การนาเงินเข้ามาลงทุนในตลาดทุนไทยของนักลงทุนต่างชาติ  ซึ่งสอดคล้องกับสถานะซื้อสุทธิของนักลงทุนต่างชาติทั้งในตลาดหลักทรัพย์และตลาดตราสารหนี้ อย่างไรก็ดี  ในช่วงปลายไตรมาสค่าเงินบาทกลับมาเคลื่อนไหวในทิศทางอ่อนค่าลง เนื่องจากนักลงทุนมีความกังวลต่อ  สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ที่มีแนวโน้มยืดเยื้อ และการดาเนินนโยบายการเงินของ  ธนาคารกลางสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มเข้มงวดมากขึ้น ส่งผลให้นักลงทุนปรับสถานะการลงทุนโดยการเพิ่มการถือครอง  สินทรัพย์ปลอดภัย อาทิ เงินสกุลดอลลาร์ สรอ. และทองคา เป็นต้น ด้านเงินสกุลอื่นที่สาคัญในภูมิภาค  ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นในทิศทางเดียวกับค่าเงินบาท ได้แก่ สกุลเงินของประเทศจีน สิงคโปร์ และเวียดนาม ปรับตัว  แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.7 ร้อยละ 0.3 และร้อยละ 0.1 จากไตรมาสก่อนหน้า ตามลาดับ ขณะที่สกุลเงินของ  ประเทศญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน อินโดนีเซีย อินเดีย ฮ่องกง และมาเลเซีย ปรับตัวอ่อนค่าลงร้อยละ  2.4 ร้อยละ 2.2 ร้อยละ 1.8 ร้อยละ 0.7 ร้อยละ 0.5 ร้อยละ 0.4 ร้อยละ 0.2 และร้อยละ 0.2 ตามลาดับ  ทั้งนี้ ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) เฉลี่ยในไตรมาสแรกอยู่ที่ 116.75 จุด เพิ่มขึ้นจากค่าเฉลี่ยในไตรมาสก่อนหน้า  ร้อยละ 1.92 สะท้อนถึงค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้า/คู่แข่งอื่น ๆ และดัชนีเงินดอลลาร์ สรอ.  (Dollar Index) เฉลี่ยอยู่ที่ 96.87 เพิ่มขึ้นจากระดับ 95.18 ในไตรมาสก่อนหน้า สะท้อนว่าเงินดอลลาร์ สรอ.  ปรับแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลหลักอื่น ๆ  ในเดือนเมษายน 2565 ค่าเงินบาทเฉลี่ยอยู่ที่ 33.81 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงร้อยละ 1.71 จากค่าเฉลี่ย  33.24 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในเดือนก่อนหน้า และเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกับค่าเงินสกุลอื่นในภูมิภาค  เป็นผลจากธนาคารกลางสหรัฐฯ ส่งสัญญาณจะเร่งปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นสาคัญ  ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ (SET Index) ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสแรกของปี 2565  ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์เคลื่อนไหวผันผวนตลอดไตรมาส ตามทิศทางและสัญญาณในการดาเนินนโยบาย  การเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) สถานการณ์ความขัดแย้งและการเจรจาระหว่างรัสเซีย-ยูเครน  และสถานการณ์การแพร่ระบาดและการควบคุมโรคโควิด-19 ภายในประเทศ โดย ณ สิ้นไตรมาสดัชนีราคา  ตลาดหลักทรัพย์ปิดที่ 1,695 จุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.27 จากไตรมาสก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากสัญญาณ  การฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศเป็นสาคัญ ทั้งนี้ นักลงทุนต่างชาติและบัญชีบริษัทหลักทรัพย์มีสถานะ  ซื้อสุทธิต่อเนื่องในตลาดหลักทรัพย์ไทย ภายหลังการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19  สาหรับกลุ่มธุรกิจสาคัญ ๆ ที่ดัชนีฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ กลุ่มบริการ (ร้อยละ 6.4 กลุ่มเทคโนโลยี (ร้อยละ 4.4  และกลุ่มทรัพยากร (ร้อยละ 2.3 ขณะที่กลุ่มธุรกิจสาคัญ ๆ ที่ดัชนีฯ ปรับตัวลดลง ได้แก่ กลุ่มสินค้าอุปโภค  บริโภค (ร้อยละ 10.1 และกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม (ร้อยละ 4.1 ด้านดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสาคัญ ๆ  ในภูมิภาค ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ สิงคโปร์ (ร้อยละ 9.1 อินโดนีเซีย (ร้อยละ 7.4 มาเลเซีย (ร้อยละ 1.3 และ  ฟิลิปปินส์ (ร้อยละ 1.1 ขณะที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสาคัญ ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลง ได้แก่  จีน (ร้อยละ 10.6 เกาหลีใต้ (ร้อยละ 7.4 และฮ่องกง (ร้อยละ 6.0  ในเดือนเมษายน 2565 ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์อยู่ที่ 1,667 จุด ลดลงร้อยละ 1.64 จาก ณ สิ้นเดือนมีนาคม  2565 เนื่องจากนักลงทุนกังวลต่อการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) ที่เร็วกว่าที่ตลาด  คาดการณ์ไว้ ประกอบกับสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครนมีแนวโน้มยืดเยื้อ  ค่าเงินบาทเทียบกับ  ดอลลาร์ สรอ. แข็งค่าขึ้น  จากไตรมาสก่อนหน้า  ตามสัญญาณการฟื้นตัว  ของเศรษฐกิจ ภายหลัง  การผ่อนคลายมาตรการ  ควบคุมการแพร่ระบาดของ  โรคโควิด-19 ของภาครัฐ  ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์  (SET Index) ปรับตัว  เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อน  หน้า ตามสัญญาณการฟื้น  ตัวของเศรษฐกิจ  ภายในประเทศเป็นสาคัญ  29.0  30.0  31.0  32.0  33.0  34.0  95 35.0  100  105  110  115  120  125  130  ม.ค. 61  เม.ย. 61  ก.ค. 61  ต.ค. 61  ม.ค. 62  เม.ย. 62  ก.ค. 62  ต.ค. 62  ม.ค. 63  เม.ย. 63  ก.ค. 63  ต.ค. 63  ม.ค. 64  เม.ย. 64  ก.ค. 64  ต.ค. 64  ม.ค. 65  เม.ย. 65  ดัชนี  NEER REER บาท/ดอลลาร์ สรอ. (แกนขวา  บาท/ดอลลาร์ สรอ.  เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า  ที่มา: CEIC, ธนาคารแห่งประเทศไทย  1000  1200  1400  1600  1800  2000  10,000  20,000  30,000  40,000  50,000  60,000  70,000  80,000  90,000  100,000  110,000  59 60 61 62 63 64 65  ล้านบาท ดัชนี  Value SET Index (RHS)  ดัชนีหลักทรัพย์และมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยปรับเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า  ที่มา: SET  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 20  Economic Outlook NESDC  อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยปรับตัวเพิ่มขึ้น ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2565 อัตราผลตอบแทน  พันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นทรงตัวอยู่ในระดับต่า สอดคล้องกับทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินของธนาคาร  แห่งประเทศไทย ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวปรับเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับการปรับตัว  เพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ และประเทศในภูมิภาคตามการคาดการณ์การปรับขึ้น  อัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ ที่อาจเร็วมากกว่าที่คาดไว้ท่ามกลางการเร่งตัวขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ  ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสแรกของปี 2565 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของไทยอ้างอิงอายุ 1 ปี อยู่ที่ร้อยละ  0.53 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.51 ต่อปี จาก ณ สิ้นไตรมาสก่อนหน้า และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล  อ้างอิงอายุ 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 2.35 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.90 ต่อปี ณ สิ้นไตรมาสก่อนหน้า โดยนักลงทุน  ต่างชาติยังคงมีสถานะซื้อสุทธิในตลาดตราสารหนี้ไทย 23.4 พันล้านบาท ต่อเนื่องจากการซื้อสุทธิ 76.7  พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า สาหรับการระดมทุนใหม่ผ่านตลาดตราสารหนี้มีมูลค่าทั้งสิ้น 425.2 พันล้านบาท  เทียบกับ 286.1 พันล้านบาทในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนใหญ่เป็นการระดมทุนของกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์  กลุ่มเงินทุนและหลักทรัพย์ กลุ่มพลังงาน และกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  ในเดือนเมษายน 2565 อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของไทยทั้งระยะสั้นและระยะยาวปรับเพิ่มขึ้นจาก  เดือนก่อนหน้า โดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 ปี และอายุ 10 ปี ณ สิ้นเดือนเมษายนอยู่ที่  ร้อยละ 0.63 ต่อปี และร้อยละ 2.85 ต่อปี ตามลาดับ โดยนักลงทุนต่างชาติขายสุทธิในตลาดตราสารหนี้ไทย  3.4 พันล้านบาท ต่อเนื่องจากการขายสุทธิ 98.9 พันล้านบาท ในเดือนก่อนหน้า  เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออกสุทธิ ในไตรมาสที่สี่ของปี 2564 เงินทุนไหลเข้าสุทธิ 2.29 พันล้านดอลลาร์ สรอ.  ต่อเนื่องจากการไหลเข้าสุทธิ 2.64 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการนาเงินเข้ามา  ลงทุนโดยตรง และลงทุนในตลาดทุนไทยของนักลงทุนต่างชาติ รวมทั้งการลงทุนอื่น ๆ (ประกอบด้วยเงินกู้  สินเชื่อการค้า เงินฝาก และบัญชีลูกหนี้ และเจ้าหนี้อื่น ๆ อย่างไรก็ดี ยังมีเงินไหลออกจากการนาเงินออกไป  ลงทุนในต่างประเทศของนักลงทุนไทยทั้งการลงทุนโดยตรงและลงทุนในหลักทรัพย์  รวมทั้งปี 2564 เงินทุนไหลออกสุทธิ 2.14 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ตามการนาเงินออกไปลงทุนโดยตรงและ  การลงทุนในตลาดตราสารทุนในต่างประเทศของนักลงทุนไทย และการนาเงินลงทุนออกจากตลาดตราสารทุน  ของนักลงทุนต่างชาติ  อัตราผลตอบแทนพันธบัตร  รัฐบาลระยะสั้นทรงตัว  อยู่ในระดับต่า ขณะที่อัตรา  ผลตอบแทนพันธบัตร  รัฐบาลระยะยาวปรับตัว  เพิ่มขึ้น  อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นทรงตัว ขณะที่ระยะยาวปรับเพิ่มขึ้น  ที่มา: ThaiBMA  0.0  1.0  2.0  3.0  4.0  1M 6M 2Y 4Y 6Y 8Y 10Y 12Y 14Y 16Y 18Y 20Y 22Y 24Y 26Y 28Y  ร้อยละ  Q4/2564  Q1/2565  เม.ย. 65  เงินทุนเคลื่อนย้าย  (พันล้านดอลลาร์ สรอ.) 2563 2564  ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4 ทั้งปี Q1 Q2 Q3 Q4  - การลงทุนโดยตรง -23.8 -2.7 -5.7 -3.4 -12.2 -5.9 1.1 -1.7 -0.8 -4.5  นักลงทุนไทย -19.0 -5.3 -5.3 -3.7 -4.6 -17.3 -3.3 -3.1 -3.9 -7.1  นักลงทุนต่างชาติ -4.8 2.7 -0.3 0.3 -7.5 11.4 4.4 1.3 3.1 2.6  - การลงทุนในหลักทรัพย์ -12.1 -8.5 2.8 -2.5 -3.9 -11.3 -9.7 -3.8 0.2 2.0  นักลงทุนไทย -4.1 -1.2 4.2 -1.8 -5.3 -16.5 -10.1 -3.7 -0.05 -2.6  นักลงทุนต่างชาติ -8.1 -7.3 -1.5 -0.7 1.4 5.2 0.4 -0.1 0.2 4.6  อื่น ๆ 24.0 1.6 8.9 -0.4 14.0 15.0 3.5 3.6 3.2 4.8  เงินทุนเคลื่อนย้าย -12.0 -9.6 6.0 -6.3 -2.0 -2.1 -5.1 -1.9 2.6 2.3  ที่มา: ธปท.  เงินทุนเคลื่อนย้ายไหลเข้า  สุทธิ ตามการนาเงินเข้ามา  ลงทุนโดยตรงและการลงทุน  ในหลักทรัพย์ของนักลงทุน  ต่างชาติเป็นสาคัญ  ดุลบั ชีเดินสะพัดขาดดุล ในไตรมาสแรกของปี 2565 ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล 1.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ.  (53.2 พันล้านบาท เทียบกับการขาดดุล 1.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (36.9 พันล้านบาท ในไตรมาสเดียวกันของ  ปีก่อน และการขาดดุล 1.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (57.5 พันล้านบาท ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลมาจาก  การขาดดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ 10.8 พันล้านดอลลาร์ สรอ. เป็นการขาดดุลต่อเนื่องเป็น  ไตรมาสที่ 8 (สูงกว่าการขาดดุล 10.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ดุลการค้า  เกินดุล 9.2 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (สูงกว่าการเกินดุล 8.9 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน  ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุล  ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 5  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 21  Economic Outlook NESDC  เงินสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565 อยู่ที่ 242.4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ลดลงจาก 245.5  พันล้านดอลลาร์ สรอ. ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2564 อย่างไรก็ตาม เมื่อคิดในรูปเงินบาท เงินสารองระหว่าง  ประเทศ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565 อยู่ที่ 8,074.1 พันล้านบาท สูงกว่า 7,699.2 พันล้านบาท ณ สิ้นเดือน  มีนาคม 2564  อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ในไตรมาสแรกของปี 2565 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 4.7 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้า  โดยดัชนีราคาในหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 เร่งขึ้นจากการเพิ่มขึ้นร้อยละ  0.3 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนีราคากลุ่มเนื้อสัตว์ เครื่องประกอบอาหาร และอาหารบริโภค  ในบ้าน ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.5 ร้อยละ 7.6 และร้อยละ 4.5 ตามลาดับ ส่วนดัชนีราคาในหมวดที่มิใช่อาหาร  และเครื่องดื่มเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนี  ราคากลุ่มไฟฟ้า เชื้อเพลิง น้าประปาและแสงสว่าง และยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.6  และร้อยละ 15.1 ตามลาดับ สอดคล้องกับดัชนีราคาหมวดพลังงาน ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.9 เร่งตัวขึ้นต่อเนื่อง  เมื่อเทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.5 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.4  เทียบกับไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ร้อยละ 0.34  เงินสารองระหว่างประเทศ  ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565  อยู่ที่ 242.4 พันล้าน  ดอลลาร์ สรอ.  -20,000  -15,000  -10,000  -5,000  0  5,000  10,000  15,000  20,000  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  59 60 61 62 63 64 65  ล้านดอลลาร์ สรอ.  ดุลบั ชีเดินสะพัด ดุลการค้า  และดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ  ดุลบัญชีเดินสะพัด  ดุลการค้า  ดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ  ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย  -6.0  -4.0  -2.0  0.0  2.0  4.0  6.0  8.0  10.0  12.0  Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1  59 60 61 62 63 64 65  %YoY  ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปในไตรมาสแรกของปี 2565  เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7  ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน  ดัชนีราคาผู้ผลิต  ที่มา: กระทรวงพาณิชย์  ดัชนีราคาผู้ผลิต ในไตรมาสแรกของปี 2565 เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.8 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 ในไตรมาส  ก่อนหน้า โดยดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์จากเหมือง เพิ่มขึ้นร้อยละ 61.5 เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 41.9  ในไตรมาสก่อนหน้า ตามราคากลุ่มปิโตรเลียมดิบและก๊าซธรรมชาติ ที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องร้อยละ 82.2 เทียบกับ  การเพิ่มขึ้นร้อยละ 57.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8  เทียบกับการเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของราคากลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก  การกลั่นปิโตรเลียม และเคมีภัณฑ์และผลิตภัณฑ์เคมีที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 62.7 และร้อยละ 15.2 ตามลาดับ  ส่วนดัชนีราคาหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรและการประมง ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เทียบกับการลดลงร้อยละ  0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของราคาผลิตภัณฑ์จากการประมง และผลิตภัณฑ์ทาง  การเกษตรที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.0 และร้อยละ 4.3 ตามลาดับ5  ดัชนีราคาผู้ผลิต เพิ่มขึ้น  ร้อยละ 9.8 เทียบกับ  การเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7  ในไตรมาสก่อนหน้า  อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่  เฉลี่ยร้อยละ 4.7 เร่งขึ้นจาก  ร้อยละ 2.4 ในไตรมาส  ก่อนหน้าตามการเร่งตัวขึ้น  ของอัตราเงินเฟ้อ  ทั้งในหมวดอาหารและ  เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์  และหมวดที่มิใช่อาหารและ  เครื่องดื่ม  4 ในเดือนเมษายน 2565 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 4.6 และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 2.0  5 ในเดือนเมษายน 2565 ดัชนีราคาผู้ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.8  22  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  NESDC  Economic Outlook  2. ความเคลื่อนไหวราคาน้ามันไตรมาสแรกของปี 2565  ราคาน้ามันดิบ ในตลาดโลกเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นมากจาก ไตรมาสก่อนหน้า ภายหลังจากสถานการณ์ ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ทวีความรุนแรงมากขึ้น  ราคาน้ามันดิบอยู่ในระดับสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนและเพิ่มขึ้นมากจากไตรมาสก่อนหน้า ในไตรมาสแรก ของปี 2565 ราคาน้ามันดิบในตลาดโลกเฉลี่ย 4 ตลาด (ดูไบ เบรนท์ โอมาน และเวสท์เท็กซัส อยู่ที่ 96.2 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นร้อยละ 61.3 จากราคาเฉลี่ย 59.6 ดอลลาร์ สรอ.ต่อบาร์เรล ในช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.7 เมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ย 78.4 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในไตรมาสก่อนหน้า  การเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันดิบในตลาดโลกไตรมาสนี้มีสาเหตุมาจาก (1 ผลกระทบจากความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นนับตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพนธ์ 2565 รวมทั้งการดาเนินมาตรการคว่าบาตรทางเศรษฐกิจต่อรัสเซียของกลุ่มประเทศตะวันตก และการตอบโต้ของรัสเซีย (2 กลุ่มโอเปกและประเทศพันธมิตร (โอเปกพลัส ดาเนินการเพิ่มการผลิตแบบค่อยเป็นค่อยไป ส่งผลให้ปริมาณน้ามันดิบในตลาดมีแนวโน้มตึงตัวมากขึ้น และ (3 ปริมาณน้ามันสารองทางการค้าของสหรัฐฯ ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง โดยในไตรมาสแรกของปี 2565 อยู่ที่ 413 ล้านบาร์เรล ลดลงร้อยละ 14.5 เมื่อเทียบกับ 484 ล้านบาร์เรล ในช่วงเดียวกันของปีก่อน  ราคาน้ามันดิบในตลาดโลก  ปี  ราคา (ดอลลาร์ สรอ. /บาร์เรล)  อัตราการขยายตัว (%YOY)  WTI  BRENT  DUBAI  OMAN  เฉลี่ย  WTI  BRENT  DUBAI  OMAN  เฉลี่ย  2562  ทั้งปี  56.9  64.0  63.3  63.6  62.0  -12.6  -10.9  -9.0  -8.9  -10.3  2563  ทั้งปี  39.6  43.4  42.4  41.9  42.0  -30.4  -32.2  -33.0  -34.2  -32.3  Q1  46.2  51.0  50.8  49.6  49.7  -15.9  -20.1  -19.7  -21.7  -18.9  Q2  28.2  33.5  30.9  30.8  30.9  -52.7  -50.8  -53.9  -54.3  -52.9  Q3  40.9  43.3  43.0  42.9  42.5  -27.5  -30.1  -29.5  -30.3  -29.5  Q4  42.6  45.1  44.7  44.7  44.3  -24.8  -27.5  -28.0  -28.4  -27.3  2564  ทั้งปี  68.1  70.9  69.5  69.3  69.4  72.1  63.4  63.8  65.5  65.4  Q1  58.0  61.2  60.3  59.0  59.6  25.6  20.1  18.7  19.0  20.0  Q2  66.5  69.4  67.5  67.5  67.7  135.9  107.0  118.3  119.3  119.5  Q3  70.5  73.2  71.8  71.9  71.9  72.5  69.0  67.0  67.8  69.1  Q4  77.1  79.7  78.4  78.5  78.4  80.8  76.6  75.6  75.7  77.2  2565  Q1  94.7  97.9  96.1  96.4  96.2  63.3  59.8  59.4  63.3  61.3  ม.ค.  82.6  85.2  83.3  83.4  83.7  58.6  54.1  51.7  52.7  54.2  ก.พ.  91.6  94.1  92.0  91.3  92.5  55.6  51.7  51.5  59.2  54.9  มี.ค.  108.3  112.5  111.05  111.2  110.7  73.6  71.2  72.0  72.7  72.4  เม.ย.  101.0  105.1  102.6  103.5  103.1  63.1  60.5  62.6  64.3  62.6  ที่มา: บริษัท ไทยออยล์ จากัด (มหาชน และสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  23  NESDC  Economic Outlook  ในไตรมาสแรกของปี 2565 เศรษฐกิจโลกยังคงขยายตัวต่อเนื่องจากช่วงครึ่งหลังของปี 2564 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศเนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดภายหลังหลายประเทศปรับนโยบายในการอยู่ร่วมกับโควิดและมีความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนเข็มกระตุ้นมากขึ้น ส่งผลให้แม้จะเผชิญกับจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่จากการระบาดของสายพันธุ์โอมิครอนที่สูงขึ้น แต่มีอาการไม่รุนแรง6 ขณะเดียวกันประเทศที่พึ่งพาการส่งออกยังได้รับแรงสนับสนุนจากความต้องการสินค้าในตลาดโลก แม้จะยังเผชิญกับข้อจากัดจากปัญหาห่วงโซ่อุปทานโลก ส่วนเศรษฐกิจจีนขยายตัวเร่งขึ้นโดยมีแรงสนับสนุนจากการลงทุนภาคเอกชน ขณะที่การบริโภคภายในประเทศและภาคการผลิตได้รับผลกระทบจากการบังคับใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดในหลายพื้นที่เศรษฐกิจสาคัญ อาทิ นครเซี่ยงไฮ้ และนครเสิ่นเจิ้น ตามนโยบายผู้ติดเชื้อเป็นศูนย์ (Zero-tolerance Covid-19 policy) ขณะเดียวกันในช่วงปลายไตรมาสเศรษฐกิจโลกยังเผชิญกับสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่เริ่มทวีความรุนแรงมากขึ้นจนนาไปสู่ การดาเนินมาตรการคว่าบาตรต่อรัสเซียจากหลายประเทศเศรษฐกิจสาคัญ ส่งผลให้ราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์เร่งตัวขึ้นและส่งผลกระทบซ้าเติมต่อต้นทุนการผลิตและระดับราคาสินค้า และทาให้อัตราเงินเฟ้อปรับตัวสูงสุดเป็นประวัติการณ์ในหลายประเทศรวมทั้งส่งผลต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและสร้างความผันผวนให้กับตลาดการเงิน  ภายใต้แรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในภาพรวมและตลาดแรงงาน ประกอบกับ การคาดการณ์เงินเฟ้อในระยะต่อไปจากผลกระทบของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน รวมทั้งผลจากความยืดเยื้อของปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานโลก ส่งผลให้ธนาคารกลางสาคัญ ๆ เริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งแรก เพื่อลดแรงกดดันของอัตราเงินเฟ้อ7  เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 3.6 (Advance Estimate) ชะลอลงจากร้อยละ 5.5 ในไตรมาสก่อนหน้า และเมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 1.4 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 6.9 ในไตรมาสก่อนหน้า (%QoQ saar.) และเป็นการลดลงครั้งแรกในรอบ 7 ไตรมาส การชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ เป็นผลมาจากการชะลอตัวของ การบริโภคภายในประเทศเนื่องจากแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้น8 โดยการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 4.7 ชะลอลงจากร้อยละ 6.9 ตามการลดลงของการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทน นอกจากนี้ การใช้จ่ายของรัฐบาลกลางที่ไม่ใช่ด้านการป้องกันประเทศลดลงร้อยละ 6.2 เนื่องจากการสิ้นสุดมาตรการช่วยเหลือของทางรัฐบาลรวมถึงฐานการขยายตัวที่สูงในปีก่อน ส่วนการลงทุนภาคเอกชนยังคงขยายตัวต่อเนื่อง ส่งผลให้การนาเข้าสินค้า เร่งตัวขึ้นโดยขยายตัวร้อยละ 10.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 8.1 ในไตรมาสก่อน ขณะที่มูลค่าการสินค้าขยายตัวร้อยละ 18.8 ชะลอลงจากร้อยละ 23.1 ในไตรมาสก่อน ส่งผลให้ในไตรมาสแรก สหรัฐฯ ขาดดุลการค้าทั้งสิ้น 305,551 ล้านดอลลาร์ สรอ. นับเป็นการขาดดุลที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจส่งผลให้ตลาดแรงงานตึงตัวขึ้น ตามความต้องการแรงงานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการลดลงของอัตราว่างงานมาอยู่ที่ร้อยละ 3.8 นับเป็นระดับ ที่ต่าสุดนับตั้งแต่ช่วงก่อนการแพร่ระบาดของโควิดในไตรมาสที่หนึ่งปี 25639 สาหรับอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 8.0 (Consumer price index) สูงสุดในรอบ 40 ปี ส่งผลให้ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ (FOMC) เมื่อวันที่ 15 - 16 มีนาคม 2565 มีมติปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งแรก ในรอบ 2 ปีนับตั้งแต่การปรับลงในเดือนมีนาคม 2563 เป็นช่วงร้อยละ 0.25 - 0.50 จากเดิมอยู่ในช่วงร้อยละ 0.00 - 0.25 เพื่อลดแรงกดดันของเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังส่งสัญญาณที่จะเริ่มปรับลดการถือครองพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ และตราสารหนี้ที่มีสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นหลักประกันการจานองในระยะต่อไป  เศรษฐกิจยูโรโซน ขยายตัวร้อยละ 5.0 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อนหน้า (%YoY) และเป็นอัตราขยายตัวสูงสุดในรอบ 3 ไตรมาส โดยเป็นผลมาจากการเร่งขึ้นของเศรษฐกิจประเทศสมาชิกสาคัญ อาทิ เยอรมนี และสเปน และเมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจยูโรโซนขยายตัวร้อยละ 0.2 (%QoQ swda.) เทียบกับร้อยละ 0.3 ในไตรมาส  3. เศรษฐกิจโลกไตรมาสแรกของปี 2565  เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 3.6 ชะลอลงจาก ไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและการส่งออก และการลดลงของแรงสนับสนุนจาก การใช้จ่ายของรัฐบาล  6 ในช่วงเดือนมกราคม 2565 จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั่วโลกเพิ่มขึ้นสูงสุดนับตั้งแต่มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 อยู่ที่ 3,817,953 คนต่อวัน อย่างไรก็ดี จานวนผู้เสียชีวิตรายใหม่อยู่ที่ 9,538 ต่อวัน (21 มกราคม 2565) ซึ่งยังต่ากว่าจุดสูงสุด 15,943 ต่อวัน (29 เมษายน 2564) ในช่วงของการระบาดในระลอกก่อนหน้า  7 ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2565 ธนาคารกลางสหรัฐฯ แคนาดา นิวซีแลนด์ ฮ่องกง และไต้หวัน ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโควิด-19 ขณะที่ธนาคารกลางอังกฤษและเกาหลีใต้ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ไตรมาสสุดท้ายของปี 2564  8 อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยในไตรมาสที่หนึ่งปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 6.3 (PCE) และร้อยละ 8.0 (CPI) ซึ่งนับเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่ไตรมาสที่สี่ปี 2524 ขณะที่ค่าจ้างเฉลี่ยขยายตัวร้อยละ 5.4  9 สอดคล้องกับอัตราการมีส่วนร่วมในกาลังแรงงานที่เพิ่มขึ้น จานวนผู้มีงานทานอกภาคการเกษตรที่เพิ่มขึ้น และผู้รับสิทธิกรณีว่างงานที่ลดลงต่าสุดเป็นประวัติการณ์ โดยไตรมาสที่หนึ่งปี 2565 สหรัฐฯ มีอัตราการมีส่วนร่วมในกาลังแรงงานที่ร้อยละ 62.2 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 61.8 แต่ยังคงต่ากว่าเฉลี่ยร้อยละ 63.1 ในช่วงก่อนการ แพร่ระบาดในปี 2562 ขณะที่ จานวนผู้มีงานทานอกภาคการเกษตร ณ เดือนมีนาคม 2565 อยู่ที่ 150.9 ล้านคน เพิ่มขึ้นจาก 149.2 ล้านคน ณ สิ้นปี 2564 และ เข้าใกล้กับช่วงก่อนการแพร่ระบาด ที่ 151.8 ล้านคน ณ สิ้นปี 2562 ส่วนผู้รับสิทธิกรณีว่างงานในเดือนมีนาคม 2565 อยู่ที่ 7.1 แสนคน ลดลงจาก 1.1 ล้านคนในเดือนธันวาคม 2564 และถือเป็นระดับต่าสุดในรอบ 53 ปี  เศรษฐกิจยูโรโซน ขยายตัวร้อยละ 5.0 เร่งขึ้นตาม การฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศของเศรษฐกิจภายหลังการระบาดของ เชื้อไวรัสโควิด-19  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  24  NESDC  Economic Outlook  ก่อนหน้า การขยายตัวของเศรษฐกิจยูโรโซนในไตรมาสนี้ได้รับแรงขับเคลื่อนหลักจากอุปสงค์ภายในประเทศ สอดคล้องกับการลดลงของอัตราการว่างงานมาอยู่ในระดับต่าสุดเป็นประวัติการณ์ที่ร้อยละ 6.9 อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ส่งผลให้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนมีนาคมลดลงสู่ระดับต่าสุดในรอบ 23 เดือน และทาให้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนมีนาคมเร่งขึ้นมาก โดยเฉลี่ยในไตรมาสแรกอยู่ที่ร้อยละ 6.1 สูงสุดเป็นประวัติการณ์ในรอบ 25 ปี นับตั้งแต่มีการจัดเก็บข้อมูล แรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้นส่งผลให้ ในการประชุมธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank: ECB) เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2565 มีมติให้ดาเนินนโยบายทางการเงินที่มีความเข้มงวดมากขึ้น10 สาหรับการดาเนินมาตรการทางการคลังที่สาคัญภายใต้มาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU Recovery and Resilience Facility วงเงินรวม 6.725 แสนล้านยูโร ได้มีการเบิกจ่ายงบประมาณภายใต้มาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป (Recovery and Resilience Facility) มูลค่าประมาณ 9.6 พันล้านยูโรระหว่างไตรมาสนี้ ส่งผลให้ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2565 คณะกรรมาธิการยุโรปได้เบิกจ่ายเงินกู้และเงินทุนแล้วให้กับ 21 ประเทศ มูลค่าประมาณ 7.4 หมื่นล้านยูโร  เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีแนวโน้มยังคงขยายตัวตามภาคการผลิตอุตสาหกรรมและภาคบริการ สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ซึ่งเฉลี่ยในไตรมาสแรกอยู่ที่ 54.1 และ 47.1 ตามลาดับ เทียบกับ 51.3 และ 46.9 ตามลาดับ ในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ภายในประเทศ มีแนวโน้มชะลอตัวเนื่องจากผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 จนส่งผลให้รัฐบาลต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในหลายพื้นที่ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงวันที่ 21 มีนาคม 2565 ซึ่งทาให้ดัชนีการค้าปลีกขยายตัวร้อยละ 0.4 ชะลอลงจากร้อยละ 1.4 ในไตรมาสที่ผ่านมา แนวโน้มการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปยังอยู่ในระดับต่าที่ร้อยละ 0.9 ต่ากว่าระดับเป้าหมาย และส่งผลให้ในการประชุมของธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เมื่อวันที่ 17 - 18 มีนาคม 2565 มีมติยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายระยะสั้นไว้ที่ ร้อยละ (-0.1) และรักษาระดับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุ่น (JGBs) ช่วงอายุ 10 ปี ให้อยู่ที่ระดับร้อยละ 0.0 (Yield Curve Control) เพื่อให้อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นสู่ระดับเป้าหมายที่ร้อยละ 2.0 และสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจต่อไป  เศรษฐกิจจีน ขยายตัวร้อยละ 4.8 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเร่งขึ้นของการลงทุน ในสินทรัพย์ถาวรที่ขยายตัวสูงสุดในรอบ 24 ไตรมาส โดยเฉพาะการลงทุนในภาคธุรกิจและบริการที่ได้รับ การสนับสนุนจากนโยบายของรัฐ อาทิ การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมไฮเทค การบริการสุขภาพและภาคการศึกษา อย่างไรก็ตาม ภาคการผลิตและภาคบริการได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้มี การดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดเพื่อมุ่งเน้นไม่ให้มีผู้ติดเชื้อในประเทศ (Zero-tolerance Covid-19 policy)11 สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการของจีน (Caixin?s PMI) ที่ลดลงสู่ระดับต่าสุดนับตั้งแต่ไตรมาสแรกของปี 2563 อยู่ที่ 49.2 และ 47.9 ตามลาดับ ส่วนมูลค่าการส่งออกขยายตัวร้อยละ 15.6 ชะลอลงจากร้อยละ 22.7 ในไตรมาสที่ผ่านมา และเป็นการขยายตัวต่าที่สุดในรอบ 6 ไตรมาส นอกจากนี้ เศรษฐกิจจีนยังได้รับผลกระทบจากการผลักดันนโยบายปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจโดยเฉพาะการเพิ่มความเข้มงวดของการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ ซึ่งส่งผลให้การลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ขยายตัวร้อยละ 0.7 ชะลอลงจากร้อยละ 4.4 ในไตรมาสก่อนหน้าและเป็นการขยายตัวต่าที่สุดในรอบ 8 ไตรมาส ภายใต้ข้อจากัดของการฟื้นตัวของการผลิตและการใช้จ่ายภายในประเทศ ส่งผลให้ธนาคารกลางจีน (PBOC) ได้ผ่อนคลายนโยบายการเงินเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องในช่วงไตรมาสแรกของปี 2565 เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้แก่ระบบการเงินช่วยเหลือการฟื้นตัวแต่ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด และสนับสนุนการขยายตัวต่อไปของเศรษฐกิจ12  เศรษฐกิจญี่ปุ่น ยังคงฟื้นตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด  10 ในการประชุมเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2565 ธนาคารกลางยุโรป (ECB) มีมติลดวงเงินการเข้าซื้อสินทรัพย์ภายใต้ Asset Purchase Programme (APP) จาก 4 หมื่นล้านยูโรต่อเดือนและ 3 หมื่นล้านยูโรต่อเดือนในไตรมาสที่สองและสามของปี 2565 ตามลาดับ เป็น 4 หมื่นล้านยูโรในเดือนเมษายน 3 หมื่นล้านยูโรในเดือนพฤษภาคม 2 หมื่นล้านยูโรในเดือนมิถุนายน 2565 และจะประเมินสถานการณ์อีกครั้งก่อนที่กาหนดมูลค่าการเข้าซื้อในไตรมาสที่สาม และ ECB มีมติยุติการเข้าซื้อสินทรัพย์ภายใต้ Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) ภายในไตรมาสนี้ตามที่ได้ประกาศไว้ก่อนหน้านี้ แต่ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.0 ต่อไป  11 ในช่วงไตรมาสที่หนึ่ง รัฐบาลจีนได้มีการประกาศล็อคดาวน์เมืองเสิ่นเจิ้น ซึ่งมีประชากรประมาณ 17.5 ล้านคน มณฑลจี๋หลินที่มีประชากรประมาณ 24 ล้านคน และเมืองเซี่ยงไฮ้ที่มีประชากร 25 ล้านคน  12 โดยเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2565 ได้ออกมาตรการให้ความช่วยเหลือแก่กิจการขนาดไมโครและขนาดเล็ก (Micro and Small Businesses: MSBs) โดยตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน 2566 ธนาคารท้องถิ่นที่ให้สินเชื่อกับ MSBs จะได้รับเงินทุนจาก PBOC มูลค่าร้อยละ 1 ของสินเชื่อที่ธนาคารท้องถิ่นปล่อยให้กับ MSBs ในทุก ๆ ไตรมาสเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ธนาคารท้องถิ่นในการปล่อยสินเชื่อ และนับตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นไป ธนาคารท้องถิ่นที่ให้สินเชื่อแก่ MSBs ที่มีความเสี่ยงสูงจะสามารถยื่นขอรับการช่วยเหลือจาก PBOC ภายใต้โครงการสนับสนุนการพัฒนาท้องถิ่นและธุรกิจ MSBs ซึ่งมีโควตา 4 แสนล้านหยวน เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2565 ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะกลาง (MLF) ประเภท 1 ปี (อัตราดอกเบี้ยนโยบาย) ลงเป็นร้อยละ 2.85 จากร้อยละ 2.95 ซึ่งเป็นการปรับลดครั้งแรกตั้งแต่เดือนเมษายน 2563 และถือเป็นการเพิ่มสภาพคล่องให้ระบบการเงินอีก 2 แสนล้านหยวนผ่านโครงการเงินกู้ระยะกลาง (MLF) ประเภท 1 ปี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2565 จากการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี (LPR) ประเภท 1 ปีลงจากร้อยละ 3.80 เป็นร้อยละ 3.70 และได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ย LPR ประเภท 5 ปี ลงจากร้อยละ 4.65 เป็นร้อยละ 4.6 เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565 PBOC ได้ออกข้อกาหนดเรื่องการให้สินเชื่อแก่ธุรกิจให้เช่าบ้านราคาถูก โดยให้นาออกจากข้อกาหนดที่เข้มงวดขึ้นของการให้สินเชื่อในภาคอสังหาริมทรัพย์ และในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 ธนาคารกลางจีนได้เพิ่มสภาพคล่องอีกครั้ง 1 แสนล้านหยวนผ่านโครงการเงินกู้ระยะกลาง (MLF) ประเภท 1 ปี  เศรษฐกิจจีน ขยายตัว ร้อยละ 4.8 ตามการเร่งขึ้นของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร อย่างไรก็ดี ภาคการผลิตและบริการ รวมทั้งการบริโภคภายในประเทศได้รับผลกระทบจากการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  25  NESDC  Economic Outlook  เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) ชะลอลงตามการชะลอตัวของภาคการผลิตและภาคการส่งออก รวมทั้งอุปสงค์ภายในประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอนที่รุนแรง ในหลายประเทศ13 และแรงกดดันจากอัตราเงินเฟ้อที่เร่งขึ้น โดยเศรษฐกิจสิงคโปร์ขยายตัวร้อยละ 3.4 เทียบกับร้อยละ 6.1 ในไตรมาสก่อนหน้า เศรษฐกิจเกาหลีใต้ขยายตัวร้อยละ 3.1 เทียบกับร้อยละ 4.2 ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้ ในการประชุมเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2565 ธนาคารกลางเกาหลีใต้ได้มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ที่ร้อยละ 1.00 เป็นร้อยละ 1.25 เพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อให้กลับสู่ระดับเป้าหมาย ถือเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเป็นครั้งที่ 3 นับตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของปี 2564 ส่วนเศรษฐกิจไต้หวันขยายตัวร้อยละ 3.1 ชะลอลงจากร้อยละ 4.9 ในไตรมาสก่อนหน้า ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกง ลดลงร้อยละ 4.0 จากการขยายตัวร้อยละ 4.7 ในไตรมาสก่อน และเป็นการลดลงของเศรษฐกิจครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส โดยเป็นผลจากอุปสงค์ภายในประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอน ขณะที่การส่งออกสินค้าชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อน ทั้งนี้ เมื่อปรับผลของฤดูกาลแล้ว เศรษฐกิจสิงคโปร์ เกาหลีใต้และไต้หวันขยายตัวร้อยละ 0.4 ร้อยละ 0.7 และร้อยละ 6.4 ชะลอลงจากร้อยละ 2.3 ร้อยละ 1.2 และร้อยละ 7.6 ในไตรมาสก่อน ตามลาดับ ส่วนเศรษฐกิจฮ่องกงลดลงร้อยละ 2.9 เทียบกับการทรงตัวในไตรมาสก่อน  เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเซียน ส่วนใหญ่มีแนวโน้มชะลอตัวตามภาคการผลิตและการส่งออก ขณะเดียวกัน อุปสงค์ภายในประเทศเผชิญกับแรงกดดันเงินเฟ้อและการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอน โดยเศรษฐกิจอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และเวียดนาม ขยายตัวร้อยละ 5.0 ร้อยละ 8.3 ร้อยละ 5.0 และร้อยละ 5.0 เทียบกับร้อยละ 5.0 ร้อยละ 7.8 ร้อยละ 3.6 และร้อยละ 5.2 ในไตรมาสก่อน ตามลาดับ ในส่วนของ การดาเนินนโยบายการเงิน ธนาคารกลางยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับต่าอย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจเป็นสาคัญ  เศรษฐกิจกลุ่มประเทศNIEs และเศรษฐกิจอาเซียน ขยายตัวชะลอลงตามการชะลอตัวของ ภาคการผลิตและ การส่งออก รวมทั้งอุปสงค์ภายในประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และแรงกดดันเงินเฟ้อ  13 ในเดือนมีนาคม 2565 เกาหลีใต้ มีจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้น 9,961,089 ราย สิงคโปร์มีจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้น 379,943 ราย สูงสุดนับตั้งแต่มี การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไต้หวันมีจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้น 2,906 ราย ส่วนฮ่องกง มีจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้น 881,671 ราย สูงสุดนับตั้งแต่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19  การขยายตัวของเศรษฐกิจ การขยายตัวของมูลค่าการส่งออกสินค้า และอัตราเงินเฟ้อของประเทศต่าง ๆ  (%YoY)  GDP  มูลค่าการส่งออกสินค้า  อัตราเงินเฟ้อ  2562  2563  2564  2565  2563  2564  2565  2564  2565  สูงสุดในรอบ (เดือน)  ทั้งปี  ทั้งปี  Q4  ทั้งปี  Q1  ทั้งปี  Q4  ทั้งปี  Q1  ทั้งปี  Q1  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  สหรัฐฯ  2.3  -3.4  5.5  5.7  3.6  -13.5  23.1  23.3  18.8  4.7  6.3  7.9  8.5  8.3  4831/  ยูโรโซน  1.6  -6.4  4.7  5.4  5.0  -7.1  7.5  17.9  10.42/  3.9  6.1  5.9  7.4  7.5  303  สหราชอาณาจักร  1.7  -9.3  6.6  7.4  8.7  -12.2  10.1  9.8  9.3  2.6  6.2  6.2  7.0  -  3601/  ออสเตรเลีย3/  1.9  -2.2  4.2  4.7  -  -7.4  27.0  37.3  22.3  2.6  5.1  -  -  -  -  ญี่ปุ่น  -0.2  -4.5  0.4  1.6  -  -9.1  6.4  17.9  4.4  2.9  0.9  0.9  1.2  -  411/  จีน  6.0  2.2  4.0  8.1  4.8  4.0  22.7  29.7  15.6  -0.2  1.1  0.9  1.5  2.1  5  อินเดีย  4.5  -6.6  5.4  8.3  -  -14.8  41.0  43.1  23.8  0.9  6.3  6.1  7.0  -  171/  เกาหลีใต้  2.2  -0.9  4.2  4.0  3.1  -5.5  24.5  25.7  18.3  5.1  3.8  3.7  4.1  4.8  162  ไต้หวัน  3.1  3.4  4.9  6.4  3.1  4.9  26.0  29.3  23.5  2.5  2.8  2.3  3.3  3.4  116  ฮ่องกง  -1.7  -6.5  4.7  6.3  -4.0  -0.5  23.2  26.0  2.8  2.0  1.5  1.6  1.7  -  31/  สิงคโปร์  1.1  -4.1  6.1  7.6  3.4  -4.1  25.9  22.1  17.1  1.6  4.6  4.3  5.4  -  1231/  อินโดนีเซีย  5.0  -2.1  5.0  3.7  5.0  -2.7  45.6  41.9  35.3  2.3  2.3  2.1  2.6  3.5  52  มาเลเซีย  4.4  -5.5  3.6  3.1  5.0  -2.3  26.5  27.4  18.6  1.6  2.2  2.2  2.2  -  ฟิลิปปินส์  6.1  -9.5  7.8  5.7  8.3  -8.1  5.2  14.5  9.8  2.5  3.4  3.0  4.0  4.9  40  เวียดนาม  7.2  2.9  5.2  2.6  5.0  6.9  19.0  18.9  13.3  3.9  1.9  1.4  2.4  2.6  8  ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สศช.  หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเดือนมีนาคม 2565  2/ ข้อมูลถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565  3/ อัตราเงินเฟ้อของออสเตรเลียเป็นรายไตรมาส  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  26  NESDC  Economic Outlook  เศรษฐกิจโลกในปี 2565 มีแนวโน้มชะลอตัวลงจากปีก่อนและฟื้นตัวช้ากว่าที่คาดไว้เดิม เนื่องจากผลกระทบจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนและมาตรการคว่าบาตรที่มีแนวโน้มยืดเยื้อ ส่งผลให้ราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์เร่งตัวขึ้น จนก่อให้เกิดแรงกดดันอย่างมากต่ออัตราเงินเฟ้อ และมีแนวโน้มที่จะเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการบริโภคภายในประเทศของประเทศต่าง ๆ ท่ามกลางการดาเนินนโยบายการเงินที่เป็นไปอย่างเข้มงวดมากขึ้นโดยเฉพาะประเทศเศรษฐกิจหลัก นอกจากนี้ ความขัดแย้งและมาตรการคว่าบาตรที่เกิดขึ้นยังมีแนวโน้มส่งผลกระทบซ้าเติมต่อห่วงโซ่อุปทานโลก โดยเฉพาะจากการขาดแคลนสินค้าวัตถุดิบสาคัญ ที่รัสเซียและยูเครนเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกหลักทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตร รวมทั้งความเสี่ยงต่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศในภูมิภาคยุโรปที่พึ่งพิงการนาเข้าพลังงานจากรัสเซีย ขณะเดียวกัน เศรษฐกิจโลกยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนจากการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดที่มุ่งเน้นไม่ให้มีผู้ติดเชื้อภายในประเทศ (Zero-tolerance covid-19 policy) ซึ่งส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักในกิจกรรมการผลิตและการขนส่งของจีน และมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังประเทศต่าง ๆ ที่มีความเชื่อมโยงทางการผลิตและพึ่งพิงการค้าระหว่างประเทศกับจีนในสัดส่วนที่สูง อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจโลกในภาพรวมยังมีแนวโน้มที่จะยังคงขยายตัวได้ตามการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและภาคบริการเนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดภายหลังหลายประเทศ ปรับนโยบายในการอยู่ร่วมกับโควิดมากขึ้น (Living with Covid) อาทิ สหรัฐฯ ยูโรโซน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้14 ประกอบกับความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนเข็มกระตุ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้อาการจากการติดเชื้อไม่รุนแรงเมื่อเทียบกับการระบาดระลอกก่อน แม้จะเผชิญกับจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่สูงขึ้นมากในหลายประเทศ  ทั้งนี้ แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในกรณีฐานตั้งอยู่บนเงื่อนไขและสมมติฐานที่สาคัญ ดังนี้ (1) ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างรัสเซียและยูเครน ไม่ลุกลามจนนาไปสู่ความขัดแย้งทางการทหารและการตอบโต้ด้วยมาตรการคว่าบาตรที่รุนแรงและเป็นวงกว้างมากขึ้นจากในปัจจุบัน (2) ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจเป็นไปอย่างจากัดและไม่มีการแพร่ระบาดระลอกใหม่จากไวรัสกลายพันธุ์เพิ่มเติม จนส่งผลให้รัฐบาลประเทศสาคัญ ๆ ต้องบังคับใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดและจากัดการเดินทางระหว่างประเทศที่เข้มงวดมากขึ้นอีกครั้ง และ (3) ความผันผวนในตลาดเงินและตลาดทุนไปลุกลามจนส่งผลรุนแรงต่อภาคเศรษฐกิจจริง ภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว ในกรณีฐานคาดว่าเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2565 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 3.5 และร้อยละ 4.7 ตามลาดับ ชะลอลงจากร้อยละ 5.3 และ ร้อยละ 10.1 ในปี 2564 ตามลาดับ และเป็นการปรับลดจากสมมติฐานการประมาณครั้งที่ผ่านมาที่ร้อยละ 4.5 และร้อยละ 6.0 โดยมีแนวโน้มเศรษฐกิจประเทศสาคัญ ๆ ดังนี้  เศรษฐกิจสหรัฐฯ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.6 ในปี 2565 ชะลอลงจากร้อยละ 5.7 ในปี 2564 และปรับลดลงจากร้อยละ 4.0 ในการประมาณการ ครั้งก่อน โดยเป็นผลจากแนวโน้มการชะลอตัวกว่าที่คาดของภาคการผลิตและการส่งออกเนื่องจากได้รับผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของต้นทุนด้านพลังงาน ประกอบกับความยืดเยื้อของปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานโลก ขณะเดียวกัน อุปสงค์ภายในประเทศมีแนวโน้มเผชิญกับ แรงกดดันเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น โดยดัชนีราคาผู้บริโภคในเดือนเมษายนยังคงขยายตัวในเกณฑ์สูงร้อยละ 8.2 ใกล้เคียงกับร้อยละ 8.6 ในเดือนมีนาคม ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 40 ปี เช่นเดียวกับดัชนีราคาผู้ผลิตในเดือนเมษายนที่ขยายตัวร้อยละ 11.0 เทียบกับระดับที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ในเดือนก่อนที่ร้อยละ 11.5 อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยังคงได้รับแรงสนับสนุนจากตลาดแรงงานที่ยังคงฟื้นตัวได้ดี โดยอัตราการว่างงานในเดือนเมษายน 2565 อยู่ที่ร้อยละ 3.6 ลดลงมาอยู่ในระดับใกล้เคียงกับช่วงก่อนการแพร่ระบาด เช่นเดียวกับการจ้างงานนอกภาคเกษตรกรรม (Nonfarm payroll) เพิ่มขึ้นอยู่ที่ 151.3 ล้านคน สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ขณะที่อัตราค่าจ้างเฉลี่ยของภาคเอกชนในช่วงสี่เดือนแรกของปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับปีก่อน เทียบกับค่าเฉลี่ยที่ร้อยละ 3 ในช่วงปี 2554 ถึง 2564 ท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เร่งขึ้นและตลาดแรงงานที่ยังคงฟื้นตัวแข็งแกร่ง ส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ มีแนวโน้มที่จะปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายและลดการเข้าซื้อสินทรัพย์อย่างต่อเนื่อง15 ซึ่งจะกลายเป็น  4. แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในปี 2565  14 (1) ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (CDC) ของสหรัฐฯ ยกเลิกรายชื่อประเทศแนะนาห้ามเดินทางจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ขณะที่ในหลายมลรัฐ มีการประกาศยกเลิกมาตรการบังคับสวมหน้ากากอนามัยภายในอาคาร ภายหลังจากที่ยอดผู้ติดเชื้อจากโรคโควิด-19 รายวันลดลง (2) รัฐบาลอิตาลีเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2565 ได้ยกเลิกมาตรการควบคุมการระบาดของโควิด-19 ต่าง ๆ รวมถึงการควบคุมการเดินทางเข้าประเทศ เพื่อรองรับฤดูกาลท่องเที่ยว (3) รัฐบาลสหราชอาณาจักรยกเลิกข้อบังคับสวมหน้ากากอนามัยในที่สาธารณะ (4) รัฐบาลฝรั่งเศสยกเลิกข้อกาหนดสวมหน้ากากอนามัยในสถานที่สาธารณะ และอนุญาตให้ประชาชนที่ไม่ฉีดวัคซีนเข้าบาร์ ร้านอาหารและโรงภาพยนตร์ได้ นอกจากนี้ สหภาพยุโรป (EU) เตรียมที่จะยกเลิกการบังคับให้มีการสวมใส่หน้ากากอนามัยกับผู้ที่เดินทางโดยเครื่องบินและผู้ที่อยู่ในสนามบินในสหภาพยุโรป โดยจะมีผลในวันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม 2565 (5) รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยกเลิกการสวมหน้ากากอนามัยกลางแจ้ง พร้อมทั้งพิจารณาที่จะเพิ่มจานวนการเปิดรับผู้ที่เดินทางจากต่างประเทศในเดือนมิถุนายน 2565 และ (6) รัฐบาลเกาหลีใต้ประกาศยกเลิกเคอร์ฟิวสาหรับร้านอาหารและธุรกิจที่ต้องปิดในเวลาเที่ยงคืน รวมทั้งยกเลิกการจากัดการรวมตัวไม่เกิน 10 คน พร้อมทั้งมีการประกาศเปิดรับนักท่องเที่ยวจากต่างชาติหลักฐานวัคซีนครบโดสรวมถึงเข็มกระตุ้น โดยไม่ต้องกักตัวตั้งแต่ 1 เมษายน 2565  15 ธนาคารกลางสหรัฐฯ ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน เมื่อวันที่ 3 - 4 พฤษภาคม 2565 มีมติปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นร้อยละ 0.50 เป็นช่วงร้อยละ 0.75 - 1.00 จากเดิมที่อยู่ในช่วงร้อยละ 0.25 - 0.50 ซึ่งเป็นการปรับเพิ่มต่อเนื่องเป็นครั้งที่สองหลังจากที่ได้มีการปรับเพิ่มไปแล้วร้อยละ 0.25 ในการประชุมครั้งก่อนเมื่อเดือนมีนาคมอีกทั้งยังเป็นการปรับเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงสุดในรอบ 22 ปี นอกจากนี้ ยังประกาศแผนการลดขนาดงบดุลในอัตรา 4.75 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ต่อเดือน ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม 2565 และจะปรับเพิ่มเป็น 9.5 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ต่อเดือน ตั้งแต่เดือนกันยายนเป็นต้นไป  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  27  NESDC  Economic Outlook  ข้อจากัดของการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศในช่วงที่เหลือของปี ขณะที่มาตรการสนับสนุนภาคการคลังมีแนวโน้มที่จะสนับสนุนเศรษฐกิจ ได้ล่าช้ากว่าที่คาดการณ์16  เศรษฐกิจยูโรโซน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 ในปี 2565 ชะลอจากร้อยละ 5.4 ในปี 2564 และปรับลดจากร้อยละ 3.9 ในการประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากผลกระทบจากความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างยูเครนและรัสเซีย และการดาเนินมาตรการคว่าบาตรของสหภาพยุโรปโดยเฉพาะการตัดธนาคารพาณิชย์ของรัสเซียออกจากระบบธุรกรรมโอนเงินระหว่างประเทศ (SWIFT)17 และความเป็นไปได้ของ การห้ามนาเข้าน้ามันจากรัสเซียภายในสิ้นปี 256518 ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตจากต้นทุนราคาสินค้านาเข้าที่สูงขึ้น และมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางพลังงานของหลายประเทศในภูมิภาคยุโรปหากความขัดแย้งมีความยืดเยื้อและรุนแรงมากขึ้น โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตในเดือนเมษายน 2565 ลดลงมาอยู่ที่ 55.5 ต่าสุดในรอบ 15 เดือน ขณะเดียวกัน อุปสงค์ภายในประเทศเผชิญกับแรงกดดันเงินเฟ้อ ที่เร่งขึ้นล่าสุดในเดือนเมษายนอัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 7.5 เป็นระดับสูงสุดในประวัติการณ์ ประกอบกับความไม่แน่นอนของสถานการณ์ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นส่งผลให้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนเมษายน 2565 ลดลงมาอยู่ที่ (-22.0) จุด ต่าสุดในรอบ 24 เดือน ภายใต้แรงกดดันอัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นส่งผลให้ธนาคารกลางยุโรปในการประชุมเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2565 ได้ส่งสัญญาณการดาเนินนโยบายทางการเงิน ที่เข้มงวดมากขึ้นจากการประชุมครั้งก่อน19 อย่างไรก็ดี คาดว่าเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีจะยังได้รับแรงสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งแรงสนับสนุนจากการดาเนินมาตรการทางการคลังขนาดใหญ่ในระยะปานกลางของสหภาพยุโรป20  เศรษฐกิจญี่ปุ่น มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 2.2 ในปี 2565 เทียบกับร้อยละ 1.7 ในปี 2564 และปรับลดจากร้อยละ 3.0 ในสมมติฐาน การประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นผลเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของสายพันธุ์โอมิครอนในช่วงไตรมาสแรก ประกอบกับแรงกดดันจากอัตราเงินเฟ้อท่ามกลางแนวโน้มการอ่อนค่าของค่าเงินเยนที่จะส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของภาคการผลิตและการบริโภคภายในประเทศ ขณะเดียวกัน ภาคการส่งออกมีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากความยืดเยื้อของปัญหาความชะงักงันในห่วงโซ่อุปทานโลก อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มจะได้รับแรงสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมภายหลังการยกเลิกการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินนับตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม 2565 และแผนการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยส่งผลให้ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อภาคบริการเดือนเมษายน 2565 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 50.5 เทียบกับ 49.4 ในเดือนก่อนหน้า และเป็นการอยู่สูงกว่าระดับ 50 ครั้งแรกในรอบสี่เดือน นอกจากนี้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังมีปัจจัยสนับสนุนจากการดาเนินนโยบายทางการเงินแบบผ่อนคลายของธนาคารกลางญี่ปุ่นเพื่อสนับสนุนสภาพคล่องให้กับเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง21 รวมทั้งแรงสนับสนุนจากการใช้จ่ายรัฐบาลภายใต้กรอบงบประมาณในปีงบประมาณ 2565 อยู่ที่ 107.6 ล้านล้านเยน  16 โครงการ Build Back Better วงเงินงบประมาณรวม 1.75 ล้านล้านดอลลาร์ สรอ. ที่เคยถูกคาดว่าจะเป็นปัจจัยสาคัญในการผลักดันเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี 2565 ยังไม่ได้รับการอนุมัติจากรัฐสภาเนื่องจากความกังวลด้านแรงกดดันจากเงินเฟ้อและยังได้รับเสียงคัดค้านจากสมาชิกวุฒิสภานาโดยนายโจ มันชิน (Joe Manchin) รวมทั้งถูกคาดการณ์ว่าโครงการจะไม่สามารถผ่านได้ในระยะเวลาอันใกล้ รวมถึงมีแนวโน้มจะมีการถูกแบ่งย่อยออกเป็นโครงการขนาดเล็กที่มีความเฉพาะเจาะจง ที่สูงขึ้น อาทิ โครงการลดราคายารักษาโรคและโครงช่วยเหลือค่าเลี้ยงดูเด็ก เป็นต้น  17 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2565 EU ออกมาตรการคว่าบาตรเพิ่มเติม โดยให้ SWIFT ระงับการให้บริการแก่ธนาคารรัสเซีย 7 แห่ง ได้แก่ VTB, Bank Otkritie, Novikombank, Promsvyazbank, Rossiya Bank, Sovcombank and VEB โดยมีผลบังคับใช้วันที่ 12 มีนาคม 2565 และเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2565 ได้ระงับการให้บริการแก่ธนาคารเบลารุส 3 แห่ง ได้แก่ Belagoprombank, Bank Dabrabyt และ Development Bank of the Republic of Belarus มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2565  18 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2565 คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ได้เสนอใช้มาตรการคว่าบาตรเพิ่มเติมต่อรัสเซีย โดยการห้ามนาเข้าน้ามันจากรัสเซียห้ามนาเข้าน้ามันจากรัสเซีย อย่างไรก็ตาม ข้อเสนอดังกล่าวต้องผ่านการอนุมัติจากรัฐสภายุโรป โดยต้องได้รับมติเอกฉันท์จากประเทศสมาชิกอียูทั้งหมด และล่าสุดฮังการีและสโลวาเกียระบุว่าไม่ต้องการเข้าร่วมการห้ามนาเข้าน้ามันจากรัสเซีย เนื่องจากต้องพึ่งพาน้ามันจากรัสเซียอย่างมาก  19 ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินของ ECB เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2565 มีมติในการดาเนินนโยบายที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) การคงอัตราการเข้าซื้อสินทรัพย์ภายใต้ Asset Purchase Programme (APP) ตามผลการประชุมเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2565 มูลค่า 4 หมื่นล้านยูโรในเดือนเมษายน 3 หมื่นล้านยูโรในเดือนพฤษภาคม และ 2 หมื่นล้านยูโรในเดือนมิถุนายน 2565 อย่างไรก็ตาม ECB ให้สัญญานการยุตินโยบายภายในไตรมาสที่ 3 ของปี 2565 (2) การคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 0.0 แต่ระบุว่าหากมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย จะเป็นภายหลังจากการยุติการซื้อพันธบัตรภายใต้ APP และจะเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างเสถียรภาพของอัตราเงินเฟ้อไว้ที่ร้อยละ 2 ในระยะปานกลาง (3) การคงการนาเงินต้นจากสินทรัพย์จากตามโปรแกรม Pandemic Emergency Purchase Programme (PEPP) ที่ถือจนครบกาหนดไปลงทุนใหม่จนถึงอย่างน้อยสิ้นปี 2567 ทั้งนี้ ECB ระบุถึงความยืดหยุ่นของการกาหนดสินทรัพย์ที่นาเงินต้นไปลงทุนใหม่ให้เป็นไปตามสถานการณ์การระบาดในอนาคต และ (4) การดาเนินมาตรการเพื่อเสริมสภาพคล่องโดยการรีไฟแนนซ์ ผ่านมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่าให้แก่ธนาคารพาณิชย์รอบที่ 3 (TLTROs III) นอกจากนี้ ECB ยังได้ระบุว่าการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะเกิดขึ้นภายหลังจากการยุติการซื้อพันธบัตรภายใต้ Asset Purchase Programme (APP)  20 มาตรการการคลังที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะยาวของสหภาพยุโรปในช่วงปี 2564 - 2570 วงเงิน 1.2109 ล้านล้านยูโร (2) แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ Next Generation EU ในช่วงปี 2564 - 2566 วงเงิน 0.8069 ล้านล้านยูโร (3) โครงการ EU4Health ในช่วงปี 2564 - 2570 วงเงิน 5.75 พันล้านยูโร ที่มุ่งเน้นการยกระดับขีดความสามารถทางสาธารณสุขสาหรับภัยคุกคามทางสาธารณสุขและโรคระบาดในอนาคต และ (4) การช่วยเหลือทางการเงินให้กับประเทศสมาชิก 19 ประเทศในรูปแบบของเงินกู้จากสหภาพยุโรป ภายใต้มาตรการสนับสนุนชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเสี่ยงด้านการว่างงานในกรณีฉุกเฉิน (SURE) มูลค่ารวม 9.44 หมื่นล้านยูโร  21 ในการประชุมเมื่อวันที่ 17-18 มกราคม 2565 BOJ มีมติให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ -0.1 และคงเป้าหมายอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว (JGBs) อายุ 10 ปีที่ร้อยละ 0.0 ทั้งนี้ ธนาคารกลางญี่ปุ่นจะยังคงใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมายเงินเฟ้อที่ร้อยละ 2.0 โดยการดาเนินนโยบาย Qualitative and Quantitative Easing (QQE) พร้อมกับยังคงมาตรการเยียวยาทางการเงินผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ต่อไป  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  28  NESDC  Economic Outlook  เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 จากปีงบประมาณ 2564 และมาตรการกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจเพิ่มเติมมูลค่า 56 ล้านล้านเยน22 (คิดเป็นร้อยละ 5.6 ของ GDP)  เศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.3 ในปี 2565 ชะลอตัวลงจากร้อยละ 8.1 ในปี 2564 และปรับลดการประมาณการลงจากร้อยละ 5.0 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นผลมาจากการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดที่มุ่งเน้นไม่ให้มีผู้ติดเชื้อ23 (Zero-tolerance Covid-19 policy) ซึ่งส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักในกิจกรรมการผลิตและการขนส่งของจีนโดยเฉพาะในหลายพื้นที่เศรษฐกิจสาคัญ ได้แก่ ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ เซินเจิ้น ที่เป็นฐานการผลิตในหลายอุตสาหกรรม อาทิ สินค้ากลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องจักรและอุปกรณ์ พลาสติก และเคมีภัณฑ์ เป็นต้น โดยดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมและบริการ (Caixin?s PMI) ในเดือนเมษายน 2565 ลดลงสู่ระดับต่าสุดในรอบ 26 เดือนที่ระดับ 46.0 และระดับ 36.2 ตามลาดับ และมีแนวโน้มที่จะกระทบภาคการส่งออกของจีนและซ้าเติมปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานโลก ประกอบกับการดาเนินมาตรการล็อคดาวน์และจากัดการเดินทางซึ่งจะส่งผลต่อการบริโภคภายในประเทศ สอดคล้องกับการลดลง ของดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเป็น 113.2 ในเดือนมีนาคมจาก 120.5 ในเดือนก่อนหน้า นอกจากนี้ภาคการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ ของจีนยังมีแนวโน้มชะลอตัวลงเนื่องจากได้รับผลกระทบจากปัญหาหนี้สินในภาคอสังหาริมทรัพย์ ภายใต้แนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ส่งผลให้ธนาคารกลางจีน (PBOC) ยังดาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่อง24 ควบคู่ไปกับการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจทางการคลังเพื่อสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจ25  เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) มีแนวโน้มชะลอลงตามการส่งออกเนื่องจากการฟื้นตัวที่ช้าลงของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า รวมถึงฐานการขยายตัวที่สูงในปีก่อน อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยังมีแนวโน้มได้รับแรงสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดเพื่ออยู่ร่วมกับโรคโควิด-19 มากขึ้น การฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศมีข้อจากัดจากการเร่งขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ และส่งผลให้ธนาคารกลางประเทศต่าง ๆ มีแนวโน้ม ที่จะดาเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวด ทั้งนี้ในปี 2565 คาดว่าเศรษฐกิจของเกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงคโปร์จะขยายตัวร้อยละ 2.6 ร้อยละ 2.8 และร้อยละ 3.6 เทียบกับร้อยละ 4.0 ร้อยละ 6.4 และร้อยละ 7.6 ในปี 2564 ตามลาดับ และเป็นปรับลดจากการประมาณการ ในครั้งก่อนที่ร้อยละ 3.0 ร้อยละ 3.1 และร้อยละ 4.2 ตามลาดับ ขณะที่เศรษฐกิจฮ่องกงได้รับผลกระทบจากการบังคับใช้มาตรการควบคุม การแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดที่มุ่งเน้นไม่ให้มีผู้ติดเชื้อภายในประเทศ (Zero-tolerance covid-19 policy) ส่งผลให้เศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะขยายตัวในเกณฑ์ต่าที่ร้อยละ 0.3 เทียบกับร้อยละ 6.3 และเป็นปรับลดจากการประมาณในครั้งก่อนที่ร้อยละ 3.0  เศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเซียน มีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้นตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและภาคการท่องเที่ยวภายหลังการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดและมาตรการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจมีข้อจากัดจากการชะลอตัวลง ของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐฯ ยูโรโซน และจีน ประกอบกับความยืดเยื้อจากปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานโลก ที่ถูกซ้าเติมโดยสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผลต่อภาคการผลิตอุตสาหกรรมและภาคการส่งออก ขณะเดียวกันแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้นส่งผลให้ธนาคารกลางบางประเทศเริ่มปรับทิศทางนโยบายการเงินเข้มงวดมากขึ้นโดยการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อาทิ ธนาคารกลางมาเลเซีย26 ทั้งนี้ ในปี 2565 คาดว่า เศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนามมีแนวโน้มที่จะขยายตัว ร้อยละ 4.2 ร้อยละ 4.5 และร้อยละ 5.2 เร่งตัวขึ้นจากร้อยละ 3.7 ร้อยละ 3.1 และร้อยละ 2.6 ในปี 2564 แต่เป็นการปรับลดลงจากสมมติฐาน การประมาณการครั้งก่อนที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.3 ร้อยละ 5.7 และร้อยละ 6.6 ตามลาดับ ขณะที่เศรษฐกิจฟิลิปปินส์คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.0 ชะลอลงจากร้อยละ 5.7 ในปีก่อน และลดลงจากร้อยละ 6.4 ในการประมาณการครั้งก่อน  22 การประชุมคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 ได้มีการอนุมัติวงเงินจานวน 56 ล้านล้านเยน เพื่อดาเนินมาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และนาร่องเข้าสู่ยุคใหม่ โดยแบ่งเป็น 3 มาตรการหลัก ได้แก่ (1) มาตรการป้องกันและลดผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อาทิ การสร้างโรงพยาบาลเฉพาะกิจ การจัดหาวัคซีน และมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อาทิ เงินช่วยเหลือภาคธุรกิจและครัวเรือน มาตรการป้องกันกรณีสินค้าหมวดพลังงานราคาสูงขึ้น (2) มาตรการเพื่อลดผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในอนาคต ประกอบด้วย มาตรการเตรียมการเพื่อ เปิดประเทศ อาทิ งบประมาณสาหรับการตรวจ RT-PCR โดยไม่คิดค่าบริการ หรือเงินช่วยเหลือแก่ธุรกิจภาคการท่องเที่ยวในกรณีที่ต้องมีการกลับมาดาเนินมาตรการควบคุมในภายหลัง และมาตรการสร้างโครงสร้างพื้นฐานสาหรับการป้องกันการแพร่ระบาดในอนาคต อาทิ การสนับสนุนการพัฒนาวัคซีนภายในประเทศ การสนับสนุน การเข้าร่วมพัฒนาวัคซีนในระดับนานาชาติ อาทิ COVAX และ (3) มาตรการปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อนาไปสู่ทุนนิยมยุคใหม่ (New Capitalism) ซึ่งประกอบไปด้วยมาตรการระดับมหภาค ได้แก่ การส่งเสริมธุรกิจสตาร์ทอัพ และการวิจัยทางเทคโนโลยี การสนับสนุนการวิจัยพลังงานทดแทน การผลักดันให้ประเทศเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัล การส่งเสริมธุรกิจ SMEs และมาตรการระดับจุลภาค (มาตรการลงทุนในทุนมนุษย์) ได้แก่ การส่งเสริมความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคม อาทิ มาตรการขึ้นค่าจ้างขั้นต่า การส่งเสริมการจ้างงานสาหรับผู้หญิง และการเตรียมพร้อมเศรษฐกิจเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การส่งเสริมการจ้างงานในระบบสาธารณสุข และการส่งเสริมค่าเลี้ยงดูลูก  23 ทั้งนี้ รัฐบาลจีนได้ประกาศล็อกดาวน์ไปแล้ว 45 เมือง รวมเป็นประชากรทั้งสิ้น 373 ล้านคน ซึ่งรวมเมืองสาคัญ ๆ ทางการเมืองและเศรษฐกิจ เช่นเมืองปักกิ่งที่เป็นเมืองหลวงและศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของประเทศ เมืองเซี่ยงไฮ้ที่เป็นศูนย์กลางทางการเงินของประเทศ และเมืองเซินเจิ้นที่เป็นฐานการผลิตสมาร์ทโฟนและยานยนต์ระดับโลก และมีท่าเรือขนส่งสินค้าที่สาคัญอันดับ 2 ของจีน และอันดับ 3 ของโลก  24 โดยเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2565 PBOC ได้ลดอัตราส่วนเงินสดที่ธนาคารต้องถือไว้เป็นทุนสารอง (RRR) จากร้อยละ 8.4 เป็นร้อยละ 8.1 ส่งผลมีการเพิ่มสภาพคล่อง ในระบบการเงินอีกประมาณ 5.30 แสนล้านหยวน และได้เพิ่มเงินเข้าสู่ระบบอีก 1 แสนล้านหยวน ผ่านโครงการปล่อยเงินกู้ใหม่ (Relending Program) เพื่อสนับสนุนการผลิตและการจัดเก็บถ่านหิน นอกจากนี้ PBOC จะจัดตั้งกองทุนการปล่อยเงินกู้ใหม่เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการบิน และจะมีการขยายโครงการให้ครอบคลุมถึงธุรกิจขนาดเล็ก ธุรกิจด้านนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี (Sci-tech innovation) และการดูแลผู้สูงอายุ  25 มาตรการสาคัญ เช่น การให้ความช่วยเหลืออุตสาหกรรมและธุรกิจ SME ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด การเร่งโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ และการเร่งแก้ปัญหาการขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ และห่วงโซ่อุปทานให้กลับมาเป็นปกติให้เร็วที่สุด  26 ธนาคารกลางมาเลเซียในการประชุมเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2565 มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 2.0 จากเดิมที่ร้อยละ 1.75  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 29  Economic Outlook NESDC  กลไกการส่งผ่านผลกระทบจากความขัดแย้งรัสเซียและยูเครนต่อเศรษฐกิจไทย  สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นนับตั้งแต่รัสเซียได้เริ่มเข้าปฏิบัติการทางการทหารในยูเครนในวันที่  24 กุมภาพันธ์ 2565 ไม่เพียงแต่สร้างความสูญเสียที่ประเมินค่ามิได้ต่อชีวิตของประชาชนและทรัพย์สินมากมายมหาศาลของทั้งสองประเทศ แต่ความขัดแย้ง  ทเ กดิ ขนึ้ ยงั ไดส้ ง่ ผลกระทบซ้าเตมิ ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ โลกและเศรษฐกจิ ไทยอยา งหลกี เลยี่ งไมไ ดจ้ กทงั้ วกิ ฤตโรคโควดิ -19 และวกิ ฤตราคาพลงั งานทเ พมิ่ ขนึ้  โดยไดส้ ง่ ผลให้ระดบั ราคาพลงั งานและสนิ คา โภคภณั ฑ์หลายชนิดเพมิ่ ขนึ้ อยา งรวดเรว็ จนทาให้อัตราเงนิ เฟอ้ ของหลายประเทศทวั่ โลกรวมทงั้ ไทยเรง่ ขนึ้ สงู สดุ  เป็นประวัติการณ์ ขณะเดียวกัน ความขัดแย้งดังกล่าวยังนาไปสู่การดาเนินมาตรการคว่าบาตรทางเศรษฐกิจของหลายประเทศผ่านในรูปของมาตรการ  ทางการเงินการธนาคาร มาตรการทางการค้าและการประกอบการธุรกิจ รวมถึงล่าสุดการประกาศยกเว้นการนาเข้าน้ามันจากรัสเซีย และนาไปสู่การดาเนิน  มาตรการตอบโตข้ องรสั เซยี อยา งตอ่ เนอื่ ง  เมื่อพิจารณากลไกการส่งผ่านผลกระทบของความขัดแย้งดังกล่าวต่อเศรษฐกิจไทยสามารถสรุปได้ 4 ช่องทางที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) ราคาสินค้า  ที่เพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ ราคาน้ามันและก๊าซธรรมชาติ และราคาในหมวดสินค้าโภคภัณฑ์ โดยเฉพาะสินค้าที่รัสเซียและยูเครนเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกหลัก  ทงั้ ในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตร อาทิ ปยุ๋ เคมี ขา วสาลี ขา วโพด รวมถงึ สนิ แรอ่ นื่ ๆ (แพลเลเดยี มและนิกเกลิ ) ซงึ่ สง่ ผลให้ตน้ ทนุ การผลติ และระดบั ราคา  สนิ คา สงู ขนึ้ และเป็นขอ้ จากดั ตอ่ การฟนื้ ตวั ของอุปสงคภ์ ยในประเทศ (2) การชะลอตวั ของเศรษฐกจิ โลก โดยแบ่งเป็นผลกระทบทางตรงจากการชะลอตวั  ของเศรษฐกิจรัสเซียและยูเครน และผลกระทบทางอ้อมจากการชะตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าหลักโดยเฉพาะสหภาพยุโรปหากมาตรการคว่าบาตร  ทวีความรุนแรงและกระทบต่อความมั่นคงทางพลังงาน ซึ่งจะส่งผลต่อภาคการส่งออกสินค้าและภาคการท่องเที่ยวของไทย (3) ความผันผวนของ  ตลาดการเงินโลก เนื่องจากการลดลงของความเชื่อมั่นของนักลงทุนจนนาไปสู่การปรับเปลี่ยนสัดส่วนการลงทุน ดังจะเห็นได้จากการเทขายสินทรัพย์  เสี่ยงส่งผลให้เกิดความผันผวนในตลาดหลักทรัพย์สาคัญทั่วโลก ขณะเดียวกันธนาคารกลางประเทศเศรษฐกิจหลักโดยเฉพาะสหรัฐฯ มีแนวโน้มจะปรับขึ้น  อัตราดอกเบยี้ นโยบายเรว็ ขนึ้ จนอาจสง่ ผลตอ่ สภาพคลอ่ งในตลาดและความผนั ผวนของตลาดการเงนิ โลก และ (4) การหยดุ ชะงกั ของหว่ งโซก่ รผลติ โลก  (supply chain disruption) ท่ามกลางสถานการณ์การความขัดแย้งที่ยังมีความไม่แน่นอนอยู่สูงและหากมีแนวโน้มยืดเยื้ออาจส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่  การผลิตโลกและต้นทุนการผลิตทั้งในด้านการผลิตน้ามันและก๊าซธรรมชาติ การผลิตสินค้าเกษตรและสินค้าภาคอุตสาหกรรม รวมถึงภูมิทัศน์การเมืองและ  การค้าระหว่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็นการซ้าเติมปัญหาห่วงโซ่การผลิตที่ยังคงยืดเยื้อ อันจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกใน  ภาพรวมและเศรษฐกิจไทยในระยะต่อไป  ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า และกองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา  -20  0  20  40  60  80  100  120  140  160  180  -5  0  5  10  15  20  ม.ค. 64 เม.ย. 64 ก.ค. 64 ต.ค. 64 ม.ค. 65  ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และราคาสินค้านาเข้า  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เหล็ก ปุ๋ย (RHS) น้ามันดิบ (RHS)  %YoY %YoY  1.2  5.8  21.2  23.8  17.9  9.2  1.0  5.0  18.5  13.6 13.9  12.0  0  5  10  15  20  25  ต.ค. 64 พ.ย. 64 ธ.ค. 64 ม.ค. 65 ก.พ. 65 มี.ค. 65  จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ  ชาวรัสเซีย ชาวยุโรปตะวันออก  พันคน  Income Effect  ความขัดแย้ง  ราคาสินค้า  เศรษฐกิจโลก  ความผันผวน  ตลาดการเงินโลก  Supply chain  disruption  ราคาพลังงาน  ราคาสินค้าโภคภัณ  ต้นทุน  เศรษฐกิจรัสเซีย ยูเครน  ประเทศคู่ค้าหลัก  การส่งออก  การท่องเที่ยว  เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ  เงินเฟ้อ (CPI)  การผลิต  การบริโภคภาคเอกชน  การลงทุนภาคเอกชน  Price Effect  ปุ ย ข้าวสาลี ข้าวโพด โลหะ แร่ต่าง ๆ ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการก่อสร้าง  น้ามัน กาซ  การย้ายฐานการผลิต/การ  เปลี่ยนแปลงโครงสร้างการค้าโลก  อัตราแลกเปลี่ยน  ตลาดหลักทรัพย์  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 30  Economic Outlook NESDC  การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายและความเสี่ยงต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ  ภายใต้ภาวะเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ที่เร่งตัวสูงขึ้นต่อเนื่องนับตั้งแต่ปลายปี 2564 ตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศประกอบกับ  แรงกดดันเงินเฟ้อเพิ่มเติมจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนจนทาให้ล่าสุดในเดือนเมษายน 2565 อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 8.2  ใกล้เคียงกับร้อยละ 8.6 ในเดือนก่อน ซึ่งนับเป็นอัตราสูงสุดในรอบ 41 ปี เพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อดังกล่าว ส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐฯ ในเดือน  มีนาคม 2565 เริ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายครั้งแรกนับตั้งแต่เดือนธันวาคม 2561 และเป็นการปรับขึ้นดอกเบี้ยมากที่สุดนับตั้งแต่ปี 2543  รวมทั้งมีแผนปรับลดงบดุลลงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การดาเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดมากขึ้นในด้านหนึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ  แตห่ กปรบั เพมิ่ อยา งรวดเรว็ และรนุ แรงในดา นหนงึ่ จะกอ่ ให้เกดิ ผลตอ่ สภาพคลอ่ งและการเพมิ่ ขนึ้ ของตน้ ทนุ ทางการเงนิ ซงึ่ จะทาให้กระทบตอ่ อุปสงค์  ภายในประเทศและเศรษฐกิจในภาพรวมจนอาจมีความเสี่ยงที่จะนาไปสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอย (Economic recession)  เมื่อพิจารณาจากสถิติที่ผ่านมาพบว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ มีความเสี่ยงที่จะเข้าสู่ภาวะถดถอยภายหลังจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย สอดคล้องกับ  มุมมองของนักลงทุนที่มีการเพิ่มสัดส่วนการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวมากยิ่งขึ้น จนส่งผลให้ส่วนต่างผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้น  และระยะยาวลดลงจนในบางช่วงลดลงต่ากว่าศูนย์ (Inverted Yield Curve) ซึ่งข้อมูลในอดีตชี้ให้เห็นถึงสัญญาณความเป็นไปได้ในการเกิดภาวะ  เศรษฐกิจถดถอยในระยะ 4-6 ไตรมาสข้างหน้า นอกจากนี้การขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารสหรัฐฯ อาจเป็นข้อจากัดต่อภาคอสังหาริมทรัพย์  ทา มกลางแนวโน้มระดบั ราคาทอี่ ยอู่ ศยั ทเ พมิ่ สงู ขนึ้ อยา งตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ภายหลงั จากทธี่ นาคารกลางสหรฐั ฯ ปรบั ลดอัตราดอกเบยี้ ในไตรมาสแรก  ของปี 2563 เพื่อลดผลกระทบจากการแพร่ระบาด ดังนั้น ประเด็นความท้าทายในระยะต่อไปของธนาคารกลางสหรัฐฯ คือการรักษาสมดุลระหว่าง  การลดแรงกดดันอัตราเงินเฟ้อและการรักษาอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไม่ให้ชะลอตัวรุนแรง  0  0.1  0.2  0.3  0.4  0.5  0.6  0.7  0.8  0.9  1  -3  -2  -1  0  1  2  3  4  5  2519  2520  2522  2524  2525  2527  2529  2530  2532  2534  2535  2537  2539  2540  2542  2544  2545  2547  2549  2550  2552  2554  2555  2557  2559  2560  2562  2564  ความต่างระหว่างผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล  ช่วงเศรษฐกิจถดถอย 10 ปี 5 ปี 10 ปี 2 ปี 10 ปี 3 เดือน  ร้อยละ  0  0.1  0.2  0.3  0.4  0.5  0.6  0.7  0.8  0.9  1  -5  0  5  10  15  20  25  2497  2500  2502  2505  2507  2510  2512  2515  2517  2520  2522  2525  2527  2530  2532  2535  2537  2540  2542  2545  2547  2550  2552  2555  2557  2560  2562  2565  ความสัมพันธ์ระหว่างดอกเบี้ยนโยบายและเงินเฟ้อ  ช่วงเศรษฐกิจถดถอย อัตราดอกเบี้ยนโยบาย อัตราเงินเฟ้อ (CPI)  ร้อยละ  0  1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  0  50  100  150  200  250  300  2540  2541  2542  2543  2544  2545  2546  2547  2548  2549  2550  2551  2552  2553  2554  2555  2556  2557  2558  2559  2560  2561  2562  2563  2564  2565  ดัชนีราคาบ้านและอัตราดอกเบี้ยนโยบาย  ช่วงเศรษฐกิจถดถอย ดัชนีราคาบ้าน  อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RHS) Mortgage Fixed Rate 30 ปี (RHS)  หน่วย ร้อยละ  -4  -2  0  2  4  6  8  10  2561 2562 2563 2564 2565  อัตราเงินเฟ้อ (Contribution to growth)  อาหาร พลังงาน ที่พักอาศัย รักษาพยาบาล  คมนาคม สินค้าและบริการอื่น ๆ อัตราเงินเฟ้อ (CPI)  ร้อยละ  ที่มา: CEIC, National Bureau of Economic Research (NBER), Federal Reserve Economic Data (FRED) และ Bureau of Labor Statistics (BLS)  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  31  NESDC  Economic Outlook  เศรษฐกิจไทยในปี 2565 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและ ภาคการท่องเที่ยว ภายหลังจากความรุนแรงของผลกระทบจากการระบาดของโรคผ่อนคลายลงซึ่งทาให้รัฐบาลไทยและประเทศต่าง ๆ สามารถผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค และส่งผลให้ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และนักท่องเที่ยวสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะปกติได้มากขึ้น รวมทั้งปัจจัยสนับสนุนจากแนวโน้มการการขยายตัวต่อเนื่องของการส่งออกสินค้าตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก อย่างไรก็ดี ยังมีข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวต่ากว่าการคาดการณ์ในกรณีฐาน โดยเฉพาะเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกซึ่งยังมีความเสี่ยงที่จะชะลอตัวเร็วกว่าการคาดการณ์ เงื่อนไขด้านฐานะการเงินของภาคครัวเรือนและธุรกิจที่อาจจะเป็นข้อจากัดต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากขึ้นภายใต้การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า และความเสี่ยงจากการกลายพันธุ์และ การระบาดของโรคโควิด 19 ที่อาจกลับมาทวีความรุนแรงมากขึ้น  5. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2565  1) การฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ ตามการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง ภายหลังจากการแพร่ระบาดของสายพันธุ์โอมิครอนมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น27 ประกอบกับความคืบหน้าในการกระจายวัคซีนโดยเฉพาะเข็มกระตุ้น28 ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการใช้จ่ายภายในประเทศมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของฐานรายได้ของครัวเรือนและภาคธุรกิจตามภาคการผลิตอุตสาหกรรมและภาคการส่งออก รวมทั้งการปรับตัวดีขึ้นของตลาดแรงงาน โดยอัตราการว่างงานในไตรมาสแรกของปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 1.5 ลดลงจากร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อนหน้า และเป็นระดับที่ต่าสุดในรอบ 8 ไตรมาส ขณะเดียวกัน การลงทุนภาคเอกชนยังมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับการขยายตัวของภาคการส่งออก และอัตราการใช้กาลังการผลิตที่สูงขึ้น  2) การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว เนื่องจากการผ่อนปรนมาตรการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติโดยการยกเลิกมาตรการ Test & Go ที่อนุญาตให้กลุ่มชาวต่างชาติที่ได้รับวัคซีนครบแล้วไม่ต้องกักตัวนับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 รวมทั้งการเปิดด่านชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาเลเซียและลาว ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2565 และ 1 มีนาคม 2565 ตามลาดับ ส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในช่วงวันที่ 1 ถึงวันที่ 11 พฤษภาคม อยู่ที่ 221,402 คน หรือเฉลี่ยวันละ 20,127 คน สูงขึ้นเมื่อเทียบกับเฉลี่ยวันละ 6,211 คนในช่วงเดือนมกราคมถึงเมษายน นอกจากนี้ยังมีปัจจัยสนับสนุนจากการเปิดให้มีการเดินทางจากประเทศต้นทางนักท่องเที่ยวและการผ่อนปรนมาตรการกักตัวของผู้ที่เดินทางกลับเข้าประเทศต่าง ๆ อาทิ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และสิงคโปร์ ทั้งนี้ คาดว่าในช่วงที่เหลือของปี ประเทศต้นทางนักท่องเที่ยวต่าง ๆ มีแนวโน้มที่จะผ่อนคลายมาตรการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่องซึ่งจะส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมายังประเทศไทยเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ สอดคล้องกับการคาดการณ์ขององค์กรการท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ (UNWTO) ที่คาดว่าจานวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศจะขยายตัวได้ร้อยละ 30 ถึงร้อยละ 78 ในปี 2565  3) การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของการส่งออกสินค้าตามการขยายตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก การขยายตัวของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรมหลัก เนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดและความคืบหน้าของ การกระจายวัคซีนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยสนับสนุนเศรษฐกิจในกลุ่มเศรษฐกิจที่พึ่งพิงการส่งออกเป็นหลักให้ขยายตัวได้ นอกจากนี้ การส่งออกสินค้าของไทยยังจะได้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ซึ่งเริ่มมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ซึ่งคาดว่าจะช่วยสร้างโอกาสทางการค้าและลดข้อจากัดในการส่งออกสินค้าของไทยไปยังประเทศคู่ค้าในภูมิภาคได้มากขึ้น  27 สะท้อนจากจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่และจานวนผู้เสียชีวิตภายในประเทศที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่และผู้เสียชีวิตเฉลี่ยตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 10 พฤษภาคม 2565 อยู่ที่ 8,862 คนต่อวัน และ 67 คนต่อวัน ตามลาดับ เทียบกับระดับสูงสุดที่ 23,756 คนต่อวัน และ 71 คนต่อวัน ในช่วงเดือนมีนาคม 2565 ตามลาดับ  28 อัตราการได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้นในวันที่ 1 มกราคม 2565 อยู่ที่ร้อยละ 9.7 ของประชากรทั้งหมด ก่อนที่จะเพิ่มมาอยู่ที่ร้อยละ 33.5 ในวันที่ 27 มีนาคม 2565 และร้อยละ 38.3 ในวันที่ 8 พฤษภาคม 2565  ปัจจัยสนับสนุน  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  32  NESDC  Economic Outlook  1) ความเสี่ยงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและความผันผวนในตลาดการเงินโลก ที่อาจส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและเสถียรภาพของเศรษฐกิจไทย โดยมีเงื่อนไขความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจโลกที่จะต้องติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ประกอบด้วย (1) ความยืดเยื้อของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนและมาตรการคว่าบาตรที่ทาให้ราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงขึ้น และสร้างแรงกดดันด้านเงินเฟ้อเพิ่มขึ้น ประกอบกับส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานโลกโดยเฉพาะจากการขาดแคลนสินค้าวัตถุดิบสาคัญที่รัสเซียและยูเครนเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกหลักทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตร รวมทั้งความเสี่ยงต่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศในภูมิภาคยุโรปที่พึ่งพิงการนาเข้าพลังงานจากรัสเซีย (2) ความผันผวนในตลาดการเงินโลกและการเคลื่อนย้ายเงินทุนลงทุนระหว่างประเทศ ท่ามกลางการปรับทิศทางการดาเนินนโยบายการเงินที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลักและประเทศต่าง ๆ โดยธนาคารกลางของประเทศเศรษฐกิจหลัก อาทิ สหรัฐฯ ยูโรโซน สหราชอาณาจักร และแคนาดา มีแนวโน้มที่จะดาเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดมากขึ้นโดยการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อลดแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่สูงขึ้นต่อเนื่องตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและแรงกดดันเงินเฟ้อเพิ่มเติมตามราคาพลังงานที่เร่งตัวขึ้นจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ขณะที่ธนาคารกลางประเทศเศรษฐกิจหลักอื่น ๆ อาทิ ญี่ปุ่น จีน และหลายประเทศในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา อาทิ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ รวมทั้งไทย ยังคงดาเนินนโยบายการเงินผ่อนคลายและคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ในระดับเดิม ซึ่งภายใต้แนวโน้มดังกล่าวส่งผลให้เกิดความผันผวน ในตลาดการเงินและอัตราแลกเปลี่ยน รวมทั้งจะส่งผลกระทบต่อความสามารถในการชาระหนี้ของประเทศกาลังพัฒนาและประเทศรายได้น้อยที่มีสัดส่วนหนี้ต่างประเทศสูงจนอาจส่งผลต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจได้ และ (3) แนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนจากการกลับมาดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดอย่างเข้มงวดเพื่อมุ่งเน้นไม่ให้มีผู้ติดเชื้อภายในประเทศ (Zero-tolerance covid-19 policy) ซึ่งส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักในกิจกรรมการผลิตและการขนส่งของจีนในหลายพื้นที่เศรษฐกิจสาคัญที่เป็นฐานการผลิตในหลายอุตสาหกรรมและท่าเรือ และอาจซ้าเติมปัญหาการหยุดชะงักงันของห่วงโซ่อุปทานโลกและโลจิสติกส์ระหว่างประเทศที่ยังมีแนวโน้มยืดเยื้อ โดยเฉพาะปัญหา การขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ ซึ่งจะเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวของภาคการผลิตและการส่งออกของไทย รวมทั้งเป็นความเสี่ยงที่จะ สร้างแรงกดดันด้านต้นทุนการผลิตต่อเนื่อง  2) เงื่อนไขด้านฐานะการเงินของภาคครัวเรือนและธุรกิจที่มีแนวโน้มเป็นข้อจากัดต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากขึ้น ท่ามกลางแรงกดดันด้านเงินเฟ้อที่สูงและแนวโน้มอัตราดอกเบี้ยขาขึ้น ขณะที่ตลาดแรงงานที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ โดยในภาคธุรกิจสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loans: NPLs) และสัดส่วนสินเชื่อจัดชั้นกล่าวถึงพิเศษ (Special Mention Loans: SMLs) ต่อสินเชื่อรวมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในไตรมาสที่สี่ของปี 2564 ยังคงอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 7.5 กับร้อยละ 11.7 สูงขึ้นเมื่อเทียบกับร้อยละ 4.6 และร้อยละ 3.5 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ตามลาดับ เช่นเดียวกับสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ในไตรมาสที่สี่ของปี 2564 อยู่ที่ร้อยละ 90.1 เทียบกับร้อยละ 79.9 ในไตรมาสเดียวกันของปี 2562 ทั้งนี้ ภาระหนี้สินของภาคธุรกิจและภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูงจะเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวทั้งของอุปสงค์ภายในประเทศและความสามารถในการชาระหนี้ภายใต้อัตราดอกเบี้ยขาขึ้นในระยะต่อไปโดยเฉพาะ อย่างยิ่งธุรกิจ SMEs และครัวเรือนรายได้น้อย ขณะเดียวกัน ตลาดแรงงานยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่เมื่อเทียบกับช่วงก่อนการระบาด สะท้อนจากอัตราการว่างงานในไตรมาสแรกของปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 1.53 แม้จะลดลงจากร้อยละ 1.64 ในไตรมาสก่อนหน้า แต่ยังคงสูงกว่าร้อยละ 0.92 ในไตรมาสแรกของปี 2562 นอกจากนี้ พบว่าการว่างงานยังสูงในสาขาเศรษฐกิจที่ยังมีข้อจากัดในการฟื้นตัว ได้แก่ กิจกรรมโรงแรม และ การบริการด้านอาหาร และกิจกรรมด้านการสื่อสาร ขณะเดียวกันจานวนผู้ว่างงานต่าระดับและผู้เสมือนว่างงานยังคงอยู่ในระดับสูง  3) ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จากแนวโน้มการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส แม้ว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดภายในประเทศจะผ่านพ้นจุดสูงไปแล้ว แต่ยังมีความเสี่ยงจากการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสที่อาจจะนาไปสู่การแพร่ระบาดระลอกใหม่ โดยข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) ล่าสุดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พบว่ามีการระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์ย่อยของโอมิครอน (Sub Variant) BA.4 และ BA.5 แล้วใน 16 และ 17 ประเทศ ตามลาดับ โดยเฉพาะในภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งเป็นภูมิภาคเดียวกับที่มีการค้นพบสายพันธุ์โอมิครอน ในเดือนพฤศจิกายน 2564 และมีสัดส่วนประชากรที่ได้รับวัคซีนในระดับที่ต่าเพียงร้อยละ 15 ของจานวนประชากรทั้งหมด29 ซึ่งยังถือเป็น ความเสี่ยงที่อาจนาไปสู่การแพร่ระบาดระลอกใหม่ได้ในระยะต่อไป  ข้อจากัดและปัจจัยเสี่ยง  29 จากแถลงข่าวขององค์การอนามัยโลกในงาน Second Global COVID-19 Summit เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2565  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  33  NESDC  Economic Outlook  สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ของสายพันธุ์โอมิครอนนับตั้งแต่ช่วงต้นปี 2565 ที่ผ่านมา ทาให้จีนจาเป็นต้องกลับมาดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดและจากัดการเดินทางที่เข้มงวดมากขึ้นเพื่อมุ่งเน้นไม่ให้มีผู้ติดเชื้อภายในประเทศ (Zero-tolerance Covid-19 policy) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปิดเมืองและท่าเรือสาคัญ ๆ หลายแห่ง เช่น มณฑลเซี่ยงไฮ้ ท่าเรือชิงเต่า (มณฑลซานตง) เมืองเสินเจิ้น (มลฑลกวางตุ้ง) ท่าเรือเซียะเหมิน (มณฑลฟูเจียน) เป็นต้น ซึ่งจากมาตรการดังกล่าว ส่งผลให้การดาเนินธุรกิจและกิจกรรมการผลิตในพื้นที่เหล่านั้นหยุดชะงักลง และส่งผลต่อเนื่องให้สินค้าและวัตถุดิบบางส่วนจากจีนไม่สามารถส่งออกไปยังประเทศต่าง ๆ เพื่อเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานของโลกได้  ปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานจากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของจีน:  ผลกระทบต่อภาคการผลิตอุตสาหกรรมของไทย  ข้อมูลสาคัญของมณ ลหลักที่มีสัดส่วนมูลค่าการส่งออกมายังไทยในระดับสูง  มณ ล  ผู้ติดเชื้อรายมณ ลรวมตั้งแต่ 1 ม.ค. - 10 พ.ค. 65 (คน)  สัดส่วนมูลค่าการส่งออกมายังไทยของแต่ละมณ ล (ร้อยละ)  การผลิตอุตสาหกรรมที่สาคัญของมณ ล  เซี่ยงไฮ้  57,012  7.6  เคมีภัณฑ์  กวางตุ้ง  3,677  20.2  เครื่องจักรและอุปกรณ์ สินค้ากลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ กระดาษ  ฟูเจียน  1,688  6.8  เครื่องประปา เฟอร์นิเจอร์  ซานตง  1,688  8.3  เครื่องแต่งกาย โลหะและผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรและอุปกรณ์  เสเหลียง  1,108  13.9  โลหะและผลิตภัณฑ์ สินค้ากลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า  เจียงซู  588  15.8  เครื่องเซรามิก สายเคเบิล สินค้ากลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ พลาสติก  รวม 6 มณ ลสาคัญ  65,761  72.6  มณฑลอื่น*  50,873  27.4  ไม่ทราบมณฑลผู้ติดเชื้อ  835,243  -  รวมทั้งสิ้น  951,877  100.0  ที่มา: CEIC และ Global Trade Atlas หมายเหตุ* ไม่รวมฮ่องกง  เมื่อพิจารณาจากข้อมูลของไทยพบว่าหลายการผลิตในหลายอุตสาหกรรมได้รับผลกระทบด้วยเช่นกัน โดยในไตรมาสที่ 1-2565 ปริมาณการส่งออกสินค้าและวัตถุดิบจากจีนจากมณฑลที่มีระดับผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในระดับสูง ได้แก่ เซี่ยงไฮ้ กวางตุ้ง ฟูเจี้ยน ซานตง เสเหลียง และเจียงซู ซึ่งมีสัดส่วนมูลค่าการส่งออกจากจีนมายังไทยรวมแล้วประมาณร้อยละ 72.6 ของมูลค่าการส่งออกจากจีนมายังไทยทั้งหมด ลดลงมากใน หลายรายการ เช่น เคมีภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ เซรามิค ปุ๋ย กระจก กระดาษ ไม้ ยางและผลิตภัณฑ์ รวมถึงส่วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด เป็นต้น ทาให้ภาคการผลิตของไทยที่ต้องอาศัยสินค้าดังกล่าวจากจีนเริ่มได้รับผลกระทบจากแนวโน้มปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบเนื่องจากการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานของจีน นอกจากนี้ ยังต้องเผชิญกับข้อจากัดจากต้นทุนนาเข้าที่มีแนวโน้มสูงขึ้นตามราคาพลังงาน และการอ่อนค่าของเงินบาท ทั้งนี้ จากข้อมูลสินค้านาเข้าสาคัญของไทยพบว่ากลุ่มสินค้าที่มีแนวโน้มที่อาจเผชิญกับความเสี่ยงจากการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานของจีน เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านและส่วนประกอบ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์พลาสติก และเคมีภัณฑ์ เป็นต้น ซึ่งเป็นกลุ่มสินค้าที่ไทยมีสัดส่วนมูลค่าการนาเข้าจากจีนที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับการนาเข้าจากประเทศอื่น ๆ  ปริมาณการส่งสินค้าจากจีนมาไทยประเภทที่มีหน่วยเป็นตัน เฉพาะจาก 6 มณ ลสาคัญ ได้แก่ เซียงไฮ้ กวางตุ้ง ฟูเจียน ซานตง เสเหลียง และเจียงซู (สัดส่วนมูลค่าการส่งออกอยู่ที่ร้อยละ 50 ของการส่งออกจากจีนมาไทยทั้งหมด)  %YOY  สัดส่วนปริมาณการส่งออกมาไทยปี 2564 (ร้อยละ)  2563  2564  2565  ทั้งปี  Q1  Q2  Q3  Q4  Q1  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  รวมทั้งสิ้น  100.0  2.1  14.6  15.7  37.9  3.4  3.1  -2.8  6.9  -16.4  -2.4  ปุ๋ย  3.3  54.5  21.7  30.3  52.7  -34.1  -0.7  -41.2  -34.9  1275.2  -68.4  ผลไม้  1.7  73.2  2.8  32.9  145.5  -12.2  -21.0  -30.9  -16.9  -45.6  -43.5  เคมีอินทรีย์  7.3  -8.6  6.9  12.8  41.4  -7.5  -9.3  -29.4  -44.9  -31.5  4.2  กระจกและผลิตภัณฑ์  2.4  25.9  -10.7  8.3  6.3  -26.3  -31.4  -29.3  -21.0  -38.9  -29.5  ไม้และผลิตภัณฑ์  2.2  3.3  8.2  32.3  14.2  -17.6  8.4  -23.4  -29.6  6.3  -33.1  เซรามิค  4.3  5.5  22.4  29.1  37.0  52.9  -13.9  -16.9  5.2  -22.8  -26.9  เคมีอนินทรีย์  5.4  -4.9  -1.4  17.8  35.0  -22.9  -20.5  -12.6  -22.2  -5.5  -8.3  ยางและผลิตภัณฑ์  1.7  30.6  34.1  48.4  119.2  10.2  -0.4  -10.5  3.8  -27.9  -11.6  เคมีอื่น ๆ  3.2  -1.1  25.0  33.0  56.4  13.5  6.4  -10.5  -11.7  -32.5  8.4  กระดาษและผลิตภัณฑ์  2.4  2.5  6.0  13.1  -3.6  5.6  9.1  -8.9  -2.0  -0.7  -21.7  ส่วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้า  1.8  14.4  11.0  32.0  14.3  4.3  -2.5  -8.6  11.9  -25.5  -16.2  เกลือ  1.7  4.4  29.7  14.0  160.8  36.7  -18.0  1.6  61.3  -21.4  -29.0  พลาสติกและผลิตภัณฑ์  8.2  12.0  24.3  30.2  29.5  16.1  22.4  2.6  15.9  -22.4  9.1  เครื่องจักรอุปกรณ์ ชิ้นส่วน  2.9  3.2  26.3  44.4  21.3  25.6  17.6  4.1  24.7  -24.8  6.2  เหล็กและผลิตภัณฑ์  23.0  -5.1  26.5  10.5  66.7  4.9  20.9  7.4  29.2  -15.6  7.2  อะลูมิเนียม  2.4  -12.4  31.3  12.6  28.9  47.1  38.4  9.2  21.9  -3.4  7.2  ยานยนต์และอุปกรณ์  1.8  -8.7  32.2  43.4  74.8  24.1  2.3  16.7  30.4  -10.1  26.5  ผลิตภัณฑ์โลหะ  5.9  1.8  15.0  6.9  15.6  14.1  22.9  17.2  25.1  7.0  15.3  น้ามันและส่วนประกอบ  0.6  -48.2  -8.5  -46.9  107.3  -11.0  -12.7  20.9  53.5  -87.2  346.2  ผัก  2.3  -2.7  -14.8  -30.9  -31.8  -11.3  12.6  25.8  48.7  -27.7  46.1  Others  15.5  6.1  6.1  32.0  14.3  4.3  -2.5  -8.6  14.8  -12.2  2.0  ที่มา: Global Trade Atlas  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  34  NESDC  Economic Outlook  สินค้าส่งออกสาคัญของไทย และตลาดส่งออกหลัก  สินค้าส่งออก  ตลาดส่งออกหลัก (สัดส่วนมูลค่าการส่งออกต่อการส่งออกทั้งหมด)  HH index  อันดับ 1  อันดับ 2  อันดับ 3  อันดับ 4  ROW  1. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ  ออสเตรเลีย (19.2)  ญี่ปุ่น (7.8)  เวียดนาม (6.4)  ฟิลิปปินส์ (5.8)  60.8  504  2. เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ  สหรัฐฯ (32.9)  ฮ่องกง (15.2)  จีน (12.9)  เนเธอร์แลนด์ (7.4)  31.6  1,535  3. ผลิตภัณฑ์ยาง  สหรัฐฯ (33.9)  จีน (19.4)  ญี่ปุ่น (4.0)  มาเลเซีย (2.9)  39.8  1,550  4. เม็ดพลาสติก  จีน (29.4)  อินโดนีเซีย (9.4)  เวียดนาม (9.1)  อินเดีย (9.1)  43.0  1,118  5. อัญมณีและเครื่องประดับ  สิงคโปร์ (18.2)  สหรัฐฯ (15.7)  ฮ่องกง (13.2)  สวิตเซอร์แลนด์ (8.0)  44.9  816  6. เคมีภัณฑ์  จีน (23.8)  ญี่ปุ่น (14.1)  อินเดีย (9.6)  เวียดนาม (8.2)  44.3  925  7. น้ามันสาเร็จรูป  กัมพูชา (21.8)  สิงคโปร์ (14.3)  มาเลเซีย (12.2)  เวียดนาม (9.8)  41.9  925  8. แผงวงจรไฟฟ้า  ฮ่องกง (27.6)  สิงคโปร์ (11.6)  จีน (8.5)  ญี่ปุ่น (7.4)  44.9  1,023  9. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ  สหรัฐฯ (16.6)  ญี่ปุ่น (12.9)  จีน (9.1)  อินโดนีเซีย (7.2)  54.2  577  10. เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์  สหรัฐฯ (19.0)  ญี่ปุ่น (11.1)  อินเดีย (6.3)  จีน (5.7)  57.9  556  11. เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ  สหรัฐฯ (16.5)  ออสเตรเลีย (10.6)  เวียดนาม (7.7)  ญี่ปุ่น (5.2)  60.0  471  12. ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง  จีน (83.4)  ฮ่องกง (4.6)  เวียดนาม (3.2)  สหรัฐฯ (1.7)  7.1  6,990  13. ยางพารา  จีน (35.2)  มาเลเซีย (14.5)  สหรัฐฯ (8.3)  ญี่ปุ่น (7.7)  34.3  1,577  14. ผลิตภัณฑ์พลาสติก  ญี่ปุ่น (17.6)  สหรัฐฯ (16.7)  เวียดนาม (6.4)  จีน (6.1)  53.2  667  15. เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่นๆ  สหรัฐฯ (28.3)  ญี่ปุ่น (16.8)  จีน (9.7)  เนเธอร์แลนด์ (5.8)  39.4  1,211  การส่งออกรวม  สหรัฐฯ (15.4)  จีน (13.7)  ญี่ปุ่น (9.2)  เวียดนาม (4.6)  57.1  531  สินค้านาเข้าสาคัญของไทย และประเทศต้นทาง  สินค้าส่งออก  ประเทศต้นทาง (สัดส่วนมูลค่าการนาเข้าต่อการนาเข้าทั้งหมด)  HH index  อันดับ 1  อันดับ 2  อันดับ 3  อันดับ 4  ROW  1. น้ามันดิบ  UAE (26.7)  ซาอุดิอาระเบีย (17.8)  สหรัฐฯ (7.0)  แองโกลา (6.1)  42.4  1,116  2. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ  จีน (30.5)  ญี่ปุ่น (26.6)  อินเดีย (5.6)  เยอรมนี (5.5)  31.8  1,699  3. เคมีภัณฑ์  จีน (27.2)  ญี่ปุ่น (16.8)  สหรัฐฯ (7.7)  มาเลเซีย (7.1)  41.2  1,132  4. เครื่องจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ  จีน (42.8)  ญี่ปุ่น (19.4)  มาเลเซีย (4.9)  สหรัฐฯ (4.1)  28.8  2,249  5. เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์  ญี่ปุ่น (36.3)  จีน (24.3)  เกาหลีใต้ (11.0)  โอมาน (4.7)  23.7  2,051  6. แผงวงจรไฟฟ้า  ไต้หวัน (30.5)  ญี่ปุ่น (13.8)  จีน (11.6)  เกาหลีใต้ (8.5)  35.6  1,328  7. สินแร่โลหะอื่น ๆ เศษโลหะ และผลิตภัณฑ์  จีน (21.2)  ญี่ปุ่น (16.1)  ออสเตรเลีย (7.5)  เกาหลีใต้ (4.4)  50.8  784  8. เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่ง และทองคา  สวิตเซอร์แลนด์ (32.7)  ฮ่องกง (18.3)  อินเดีย (11.5)  ออสเตรเลีย (6.9)  30.6  1,584  9. ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์  ญี่ปุ่น (31.4)  จีน (24.7)  สหรัฐฯ (7.9)  เยอรมนี (5.3)  30.7  1,687  10. เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ  จีน (48.9)  มาเลเซีย (15.2)  สิงคโปร์ (14.9)  ฟิลิปปินส์ (9.3)  11.7  2,931  11. พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช  บราซิล (32.2)  สหรัฐฯ (12.6)  ออสเตรเลีย (6.4)  สิงคโปร์ (5.6)  43.2  1,268  12. เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน และส่วนประกอบ  จีน (75.2)  เวียดนาม (11.4)  มาเลเซีย (2.3)  อินโดนีเซีย (2.1)  9.0  5,795  13. ก๊าซธรรมชาติ  เมียนมาร์ (29.2)  กาตาร์ (21.5)  ออสเตรเลีย (17.5)  มาเลเซีย (7.6)  24.2  1,679  14. น้ามันสาเร็จรูป  UAE (34.3)  กาตาร์ (14.6)  สิงคโปร์ (12.4)  เกาหลีใต้ (7.0)  31.7  1,592  15. ผลิตภัณฑ์ทาจากพลาสติก  จีน (40.2)  ญี่ปุ่น (20.2)  มาเลเซีย (6.2)  สหรัฐฯ (5.0)  28.4  2,088  รวมทุกสินค้า  จีน (24.9)  ญี่ปุ่น (13.3)  สหรัฐฯ (5.4)  มาเลเซีย (4.5)  51.9  846  ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ ประมวลผลโดย สศช. , หมายเหตุ: Herfindahl-Hirschman index (HHI) เป็นดัชนีชี้วัดการกระจายตัวของตลาด โดยค่าดัชนีที่สูง จะสะท้อนว่าตลาดมีความกระจุกตัวสูง โดยในกรณีนี้คานวณจากผลรวมของยกกาลังที่สองของส่วนแบ่งการตลาดของสี่ประเทศคู่ค้าที่ใหญ่ที่สุดของแต่ละสินค้า  ปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทานจากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของจีน:  ผลกระทบต่อภาคการผลิตอุตสาหกรรมของไทย (ต่อ)  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  35  NESDC  Economic Outlook  ผลกระทบจากอัตราเงินเฟ้อและภาระหนี้สินจาแนกตามระดับรายได้ครัวเรือน  แรงกดดันเงินเฟ้อที่สูงขึ้นและเงื่อนไขด้านฐานะการเงินของภาคครัวเรือนมีแนวโน้มเป็นข้อจากัดต่อการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและการขยายตัวของเศรษฐกิจในภาพรวมมากขึ้น ทั้งนี้ หากพิจารณาผลของการเพิ่มขึ้นของระดับราคาสินค้าในหมวดอาหารและหมวดพลังงานพบว่า จะส่งผลกระทบต่อกาลังซื้อในแต่ละกลุ่มครัวเรือนแตกต่างกันออกไปตามโครงสร้างค่าใช้จ่ายของครัวเรือน เมื่อวิเคราะห์โครงสร้างการใช้จ่ายและหนี้สินของครัวเรือนจาแนกตามระดับรายได้ พบว่ากลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้น้อยที่สุด (decile 1) มีสัดส่วนของค่าใช้จ่ายด้านอาหารสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 20.2 ของรายจ่ายทั้งหมด ขณะที่กลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้สูงที่สุด (decile 10) มีสัดส่วนรายจ่ายด้านอาหารน้อยสุดอยู่ที่ร้อยละ 9.8 สะท้อนว่า กลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้น้อยมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของระดับราคาอาหารมากกว่ากลุ่มที่มีรายได้สูง และเมื่อพิจารณาสัดส่วนรายจ่ายในหมวดราคาพลังงานพบว่า กลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้น้อยที่สุด (decile 1) มีสัดส่วนของค่าใช้จ่ายก๊าซหุงต้มและน้ามันดีเซลอยู่ที่ร้อยละ 1.0 ของรายจ่ายทั้งหมด ขณะที่กลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้สูง (decile 8-10) มีสัดส่วนรายจ่ายค่าก๊าซหุงต้มและน้ามันดีเซลเฉลี่ยประมาณร้อยละ 3.3 - 5.2 ของรายจ่ายทั้งหมด สะท้อนว่ากลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้สูงมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของระดับราคาพลังงานมากกว่ากลุ่มที่มีรายได้ต่า  ขณะเดียวกัน หากพิจารณาภาระหนี้สินของครัวเรือน จาแนกตามระดับรายได้ พบว่าครัวเรือนที่มีรายได้น้อยที่สุด (decile 1) มีสัดส่วนหนี้สินต่อรายได้สูงสุดอยู่ที่ 26.7 เท่า แม้ว่าจะมีหนี้สินรวมในมูลค่าที่ต่ากว่า ส่วนครัวเรือนที่มีรายได้สูงสุด (decile 10) มีสัดส่วนหนี้สินต่อรายได้อยู่ที่ 17.8 เท่า ดังนั้นการดาเนินแนวทางมาตรการจึงควรให้ความสาคัญต่อการดูแลกลุ่มที่มีรายได้น้อยและมีความเปราะบางต่อการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า ควบคู่ไปกับการเพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้และแก้ไขปัญหาหนี้สินของครัวเรือน เพื่อไม่ให้เป็นข้อจากัดต่อการขยายตัวของ อุปสงค์ภายในประเทศในระยะต่อไป  Decile  รายได้ (พันบาทต่อเดือน)  ค่าใช้จ่ายหนี้ (พันบาทต่อเดือน)  หนี้สิน (ปี 2562)  สัดส่วนค่าใช้จ่าย (ร้อยละของค่าใช้จ่ายทั้งหมด)  (พันบาท)  ต่อรายได้ (เท่า)  อาหาร  กาซหุงต้ม  น้ามันดีเซล  1  5.3  0.3  141.8  26.7  20.2  0.7  0.3  2  8.1  0.8  136.4  16.9  19.5  0.9  1.1  3  10.1  1.2  152.0  15.0  19.5  1.1  1.8  4  12.2  1.5  172.0  14.1  19.0  1.0  2.5  5  14.4  1.8  202.4  14.0  18.5  1.1  3.6  6  17.0  2.3  229.2  13.5  17.4  0.9  3.9  7  20.4  3.1  305.9  15.0  16.2  0.8  4.3  8  25.1  4.6  395.2  15.7  14.5  0.7  4.5  9  32.6  7.2  557.3  17.1  12.8  0.5  4.3  10  57.9  14.0  1,032.6  17.8  9.8  0.3  3.3  ที่มา: ข้อมูลภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ปี 2563 (หนี้สินปี 2562) สานักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย สศช.  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  36  NESDC  Economic Outlook  ข้อสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2565  1) เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.5 และร้อยละ 4.7 ตามลาดับ ชะลอลงจากการขยายตัวร้อยละ 5.3 และร้อยละ 10.1 ในปี 2564 และเป็นการปรับลดจากร้อยละ 4.5 และร้อยละ 6.0 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับลดประมาณการการขยายตัวของเศรษฐกิจในทุกประเทศคู่ค้าสาคัญของไทย โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ ยูโรโซน ญี่ปุ่น และจีน ที่ขยายตัวต่ากว่าการคาดการณ์ในไตรมาสแรก และเริ่มมีข้อจากัดต่อการขยายตัวมากขึ้นในช่วงที่เหลือของปี โดยเฉพาะจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนและมาตรการคว่าบาตรที่มีแนวโน้มยืดเยื้อ ซึ่งสร้างแรงกดดันต่อปัญหาเงินเฟ้อและปัญหาข้อจากัดในห่วงโซ่อุปทานโลก ให้มีความรุนแรงมากขึ้น นอกจากนี้ เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกยังมีแนวโน้มที่จะเผชิญกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนเนื่องจาก การดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด  2) ค่าเงินบาทเฉลี่ยทั้งปี 2565 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 33.3 - 34.3 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจากเฉลี่ย 32.0 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในปี 2564 และ 32.2 - 33.2 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน เพื่อให้สอดคล้องกับค่าเงินบาทในช่วงวันที่ 1 เมษายน - 12 พฤษภาคม 2565 ซึ่งอยู่ที่เฉลี่ย 34.0 บาทต่อดอลลาร์ สรอ. อ่อนค่าลงจาก 33.1 ดอลลาร์ สรอ. ในช่วงไตรมาสแรก และเป็นการอ่อนค่าที่เร็วกว่าในสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา สอดคล้องกับแนวโน้มการแข็งค่าขึ้นของดัชนีค่าเงินดอลลาร์ สรอ. (US Dollar trade weighted index) ตามการคาดการณ์การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐฯ และแนวโน้มการปรับลดความเสี่ยง (Risk-off) ของนักลงทุนเนื่องจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์เศรษฐกิจโลกทาให้หันไปถือสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ากว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเงินดอลลาร์ สรอ. และพันธบัตรรัฐบาลประเทศเศรษฐกิจหลัก จนส่งผลให้เงินทุนมีแนวโน้มไหลออกจากประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ และประเทศกาลังพัฒนา นอกจากนี้ การอ่อนค่าของค่าเงินบาทยังเป็นผลจากแนวโน้มการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดตามมูลค่านาเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากราคาพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์สาคัญที่มีแนวโน้มเร่งตัวขึ้น อย่างไรก็ตาม ค่าเงินบาทมีแนวโน้มที่จะมีเสถียรภาพมากขึ้นในช่วงครึ่งหลัง ของปีตามแนวโน้มการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวของไทยซึ่งจะช่วยให้ดุลบัญชีเดินสะพัดปรับตัวดีขึ้นตามลาดับ  3) ราคาน้ามันดิบดูไบเฉลี่ยในปี 2565 คาดว่าจะอยู่ในช่วง 95.0 - 105.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ย 69.5 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในปี 2564 และเป็นการปรับเพิ่มจากสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อนที่ 72.0 - 82.0 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพื่อให้สอดคล้องสถานการณ์ราคาน้ามันในตลาดโลกที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นมากภายหลังรัสเซียเริ่มมีปฏิบัติการทางการทหารในยูเครนนับตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 และมีการตอบโต้ด้วยมาตรการคว่าบาตรรัสเซียอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ราคาน้ามันดิบดูไบในเดือนมีนาคมเฉลี่ยอยู่ที่ 111.1 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจากเฉลี่ยที่ 92 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในเดือนกุมภาพันธ์ และยังทรงตัวในระดับสูงเฉลี่ยที่ 102.6 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในเดือนเมษายน และเฉลี่ยที่ 105 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล ในช่วงวันที่ 1 - 12 พฤษภาคม โดยปัจจัยสนับสนุนการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันดิบในปี 2565 ที่สาคัญเป็นผลจากความตึงตัวของอุปทานการผลิตเนื่องจากความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนและมาตรการคว่าบาตรที่มีแนวโน้มยืดเยื้อ และนาไปสู่การคว่าบาตรการนาเข้าน้ามันจากรัสเซียของกลุ่มสหภาพยุโรป ขณะเดียวกัน ปริมาณน้ามันดิบคงคลังสุทธิของสหรัฐฯ30 และกลุ่มประเทศ OECD ยังคงอยู่ในระดับต่าต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัยที่อาจฉุดรั้งอัตราการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันไม่ให้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจาก  ตารางสมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจปี 2565  ข้อมูลจริง  ประมาณการ 2565  2562  2563  2564  ณ 21 ก.พ. 2565  ณ 17 พ.ค. 2565  อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลก (%)1/  2.8  -3.1  5.3  4.5  3.5  สหรัฐอเมริกา  2.3  -3.4  5.7  4.0  3.6  ยูโรโซน  1.6  -6.4  5.4  3.9  2.8  ญี่ปุ่น  -0.2  -4.5  1.7  2.8  2.2  จีน  6.0  2.2  8.1  5.0  4.3  อัตราการขยายตัวปริมาณการค้าโลก (%)  0.9  -7.9  10.1  6.0  4.7  อัตราแลกเปลี่ยน  31.0  31.3  32.0  32.2 - 33.2  33.3 - 34.3  ราคาน้ามัน (ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล)  63.3  42.1  69.5  72.0 - 82.0  95.0 - 105.0  ราคาส่งออก (%)  0.3  -0.8  3.3  0.5 - 1.5  3.3 - 4.3  ราคานาเข้า (%)  0.3  -3.8  4.3  1.0 - 2.0  7.0 - 8.0  รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ล้านล้านบาท)2/  1.85  0.42  0.15  0.47  0.57  ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2565  หมายเหตุ: 1/ เศรษฐกิจโลกคานวณ Trade weight เฉพาะ 15 เศรษฐกิจคู่ค้าสาคัญ ในปี 2562 2/ ข้อมูลบนฐานดุลการชาระเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย ประมาณการโดย สศช.  30 ข้อมูล ณ สิ้นสัปดาห์ 6 พฤษภาคม 2565 อยู่ที่ร้อยละ 42.3 ของความจุถังจัดเก็บน้ามันที่กาลังใช้งานจริง (Working Storage Capacity) ต่ากว่าร้อยละ 51.2 ของช่วงเดียวกันของ ปีก่อน และยังคงใกล้เคียงกับร้อยละ 40.2 ณ สิ้นสัปดาห์ 4 กุมภาพันธ์ 2565 ซึ่งต่าสุดตั้งแต่เผยแพร่ข้อมูลเมื่อเดือนมกราคม 2563  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  37  NESDC  Economic Outlook  แนวโน้มการชะลอตัวกว่าที่คาดของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจีน ประกอบกับการเพิ่มกาลังการผลิตของกลุ่ม OPEC+31 และสหรัฐฯ32 ควบคู่ไปกับการเร่งระบายน้ามันดิบออกจากคลังน้ามันสารองของสหรัฐฯ และชาติพันธมิตร รวมถึงแนวโน้มการยกเลิก การคว่าบาตรต่อเวเนซูเอล่าของสหรัฐฯ  4) ราคาสินค้าส่งออกและราคาสินค้านาเข้าในรูปดอลลาร์ สรอ. ในปี 2565 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 - 4.3 และร้อยละ 7.0 - 8.0 เร่งตัวขึ้น จากร้อยละ 3.3 และร้อยละ 4.3 ในปี 2564 ตามลาดับ และเป็นการปรับเพิ่มสมมติฐานจากร้อยละ 0.5 - 1.5 และร้อยละ 1.0 - 2.0 ในสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อน ตามลาดับ สอดคล้องกับการปรับเพิ่มสมมติฐานราคาน้ามันดิบในตลาดโลก รวมถึงแนวโน้มราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่สูงขึ้นเนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างยูเครนและรัสเซีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าที่รัสเซีย ยูเครนและเบลารุสมีบทบาทสาคัญในห่วงโซ่การผลิต อาทิ ปุ๋ย ยากาจัดศัตรูพืชและแมลง เหล็ก และเหล็กกล้า นอกจากนี้ความยืดเยื้อของปัญหาการชะงักงันของห่วงโซ่อุปทานโลกยังส่งผลให้ต้นทุนการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศยังคงอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง  5) รายรับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2565 คาดว่าจะอยู่ที่ 5.7 แสนล้านบาท และมีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติรวม 7 ล้านคน เพิ่มขึ้นจาก 1.5 แสนล้านบาท และ 4.3 แสนคนในปี 2564 และเป็นการปรับเพิ่มขึ้นจาก 4.7 แสนล้านบาท และ 5.5 ล้านคนในการประมาณการ ครั้งก่อน เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ที่เพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะภายหลังการยกเลิกมาตรการ Test & Go โดยอนุญาตให้กลุ่มชาวต่างชาติที่ได้รับวัคซีนครบแล้วไม่ต้องกักตัวตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 ส่งผลให้นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามานับตั้งแต่วันที่ 1 - 11 พฤษภาคม 2565 มีจานวนรวม 221,402 คน คิดเป็นเฉลี่ยวันละ 20,127 คน และทาให้จานวนนักท่องเที่ยวสะสมนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 11 พฤษภาคม 2565 อยู่ที่ 9.7 แสนคน นอกจากนี้ การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวยังได้รับแรงสนับสนุนที่สาคัญจาก การเปิดด่านชายแดนและแนวโน้มการผ่อนคลายมาตรการการเดินทางระหว่างประเทศของประเทศต้นทางนักท่องเที่ยวที่สาคัญโดยเฉพาะประเทศในภูมิภาค อาทิ มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาว และอินเดีย เป็นต้น ซึ่งการปรับเพิ่มจานวนนักท่องเที่ยวอันเป็นผลจากการผ่อนคลายมาตรการดังกล่าวจะช่วยชดเชยการปรับลดประมาณการนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรปลงโดยเฉพาะรัสเซียและยูเครน เนื่องจากสถานการณ์ความขัดแย้ง ที่ยังมีความยืดเยื้อ  6) การเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบด้วย (1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2565 ร้อยละ 92.5 ของงบประมาณทั้งหมด เทียบกับร้อยละ 93.5 ในสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน โดยแบ่งเป็นอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาที่ร้อยละ 98.0 เท่ากับการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับร้อยละ 96.4 ในปีงบประมาณก่อนหน้า ขณะที่อัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 70.0 เทียบกับร้อยละ 75.0 ในการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับร้อยละ 70.9 ในปีงบประมาณก่อนหน้า โดยเป็นการปรับให้สอดคล้องกับข้อมูลจริงของอัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนในช่วง 2 ไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2565 อยู่ที่ร้อยละ 31.1 ซึ่งต่ากว่าที่คาดการณ์ (2) อัตรา การเบิกจ่ายงบประมาณเหลื่อมปีอยู่ที่ร้อยละ 82.9 เท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งก่อน และเทียบกับร้อยละ 91.1 ในปีงบประมาณ 2564 (3) อัตราการเบิกจ่ายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจร้อยละ 70.0 ของวงเงินงบประมาณเท่ากับสมมติฐานการประมาณการครั้งที่ผ่านมา คิดเป็นวงเงินลงทุนประมาณ 3.28 แสนล้านบาท (4) การใช้เงินภายใต้พระราชกาหนดเงินกู้ฯ 1 ล้านล้านบาท ซึ่งมีการเบิกจ่ายสะสม ณ วันที่ 27 เมษายน 2565 รวม 9.48 แสนล้านบาท และคาดว่าจะมีการเบิกจ่ายครบวงเงินกู้ภายในสิ้นปีงบประมาณ 2565 และ (5) การใช้เงินภายใต้ พระราชกาหนดเงินกู้ฯ เพิ่มเติม พ.ศ. 2564 วงเงิน 5 แสนล้านบาท ซึ่งมีการเบิกจ่าย สะสม ณ วันที่ 27 เมษายน 2565 รวม 3.54 แสนล้านบาท คาดว่าจะมีการเบิกจ่ายเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจในปีงบประมาณ 2565 รวม 3.902 แสนล้านบาท (ร้อยละ 78.0 ของวงเงินกู้) และเบิกจ่าย ในส่วนที่เหลือภายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2566  31 ในการประชุมเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2565 กลุ่ม OPEC+ มีมติยืนยันตามข้อตกลงเดิมที่จะเพิ่มกาลังการผลิต 4.32 แสนบาร์เรลต่อวัน  32 จานวนแท่นขุดเจาะน้ามันดิบในสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดย สัปดาห์สิ้นสุด ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2565 มีจานวนแท่นขุดเจาะน้ามันดิบสูงสุดในรอบ 109 สัปดาห์ เช่นเดียวกับจานวนแท่นขุดเจาะน้ามันดิบในประเทศนอกทวีปอเมริกาเหนือในเดือนมีนาคมอยู่ในระดับสูงสุดในรอบ 23 เดือน  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  38  NESDC  Economic Outlook  เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.5 - 3.5 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 3.0) ปรับตัวดีขึ้นจากการขยายตัวร้อยละ 1.5 ในปี 2564 สาหรับอัตราเงินเฟ้อคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 4.2 - 5.2 เทียบกับร้อยละ 1.2 ในปี 2564 และดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มที่จะขาดดุลร้อยละ 1.5 ของ GDP เทียบกับการขาดดุลร้อยละ 2.1 ในปี 2564  ในการแถลงข่าววันที่ 17 พฤษภาคม 2565 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวร้อยละ 2.5 - 3.5 โดยมีค่ากลางการประมาณการที่ร้อยละ 3.0 เป็นการปรับลดการประมาณการลงจากร้อยละ 3.5 - 4.5 (ค่ากลางการประมาณการร้อยละ 4.0) ในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 โดยมีการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับเงื่อนไขและ การปรับเปลี่ยนสมมติฐานประมาณการที่สาคัญ ดังนี้  1) การปรับสมมติฐานเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก ตามการปรับลดสมมติฐานการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจสหรัฐฯ ยูโรโซน และญี่ปุ่น โดยมีสาเหตุสาคัญมาจาสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนและมาตรการคว่าบาตรที่มีแนวโน้มยืดเยื้อจนสร้างแรงกดดันต่อปัญหาเงินเฟ้อและปัญหาข้อจากัดในห่วงโซ่อุปทานโลกให้มีความรุนแรงมากขึ้น รวมทั้งเศรษฐกิจจีนที่มีข้อจากัดต่อการขยายตัวมากขึ้นจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิดและการดาเนินมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด ภายใต้เงื่อนไขข้อจากัดดังกล่าวคาดว่าเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกในปี 2565 จะขยายตัวร้อยละ 3.5 และร้อยละ 4.7 โดยเป็นการปรับลดลงจากร้อยละ 4.5 และร้อยละ 6.0 ในการประมาณการครั้งก่อน ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้การส่งออก การลงทุนภาคเอกชน และการผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทยขยายตัวต่ากว่าที่คาดการณ์  2) การปรับสมมติฐานราคาน้ามันดิบดูไบ ให้สอดคล้องกับแนวโน้มราคาน้ามันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครนที่ยังคงยืดเยื้อ ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่รัสเซีย ยูเครน และเบลารุสมีบทบาทสาคัญในการผลิตและส่งออก โดยการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะสร้างแรงกดดันต่อต้นทุนการผลิตและระดับราคาสินค้าในประเทศให้ปรับตัวสูงขึ้นโดยเฉพาะหมวดอาหารและหมวดพลังงาน ซึ่งจะส่งผลให้อุปโภคบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนขยายตัวต่ากว่าที่คาดการณ์  3) การปรับสมมติฐานจานวนและรายรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ให้สอดคล้องกับข้อมูลจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ปรับตัวดีขึ้นมากโดยเฉพาะภายหลังการยกเลิกมาตรการ Test & Go โดยอนุญาตให้กลุ่มชาวต่างชาติที่ได้รับวัคซีนครบแล้วไม่ต้องกักตัวตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 รวมทั้งการเปิดให้มีการเดินทางผ่านด่านชายแดนและการผ่อนคลายมาตรการการเดินทางระหว่างประเทศของประเทศต้นทางนักท่องเที่ยว ที่สาคัญโดยเฉพาะประเทศในภูมิภาค อาทิ มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาว และอินเดีย เป็นต้น ทั้งนี้ คาดว่าในปี 2565 จะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติ เดินทางเข้ามารวมทั้งสิ้น 7 ล้านคน และมีรายรับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งสิ้น 5.7 แสนล้านบาท ปรับเพิ่มจากสมมติฐานในการประมาณการครั้งก่อนที่ 5.5 ล้านคน และ 4.7 แสนล้านบาท ตามลาดับ ซึ่งจะส่งผลให้แรงขับเคลื่อนจากการส่งออกบริการสูงกว่าประมาณการเดิม  4) การปรับลดสมมติฐานอัตราการเบิกจ่ายงบรายจ่ายลงทุน ภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปีของรัฐบาล จากร้อยละ 75 ของวงเงินงบประมาณ เป็นร้อยละ 70 ในการประมาณการครั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลการเบิกจ่ายจริงในช่วงสองไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2565  ประมาณการเศรษฐกิจปี 2565  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  39  NESDC  Economic Outlook  องค์ประกอบของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ  1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค (1) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.9 ปรับตัวดีขึ้นจาก การขยายตัวร้อยละ 0.3 ในปี 2564 ตามแนวโน้มการฟื้นตัวของฐานรายได้ในระบบเศรษฐกิจและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของภาคครัวเรือนเข้าสู่ภาวะปกติหลังความรุนแรงในการแพร่ระบาดของโรคลดลง แต่เป็นการปรับลดจากร้อยละ 4.5 ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อซึ่งส่งผลต่อกาลังซื้อของครัวเรือน และ (2) การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคภาครัฐบาล คาดว่าจะลดลงร้อยละ 0.2 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 3.2 ในปี 2564 และเท่ากับการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการคงสมมติฐานอัตราการเบิกจ่าย งบประจาภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2565 ที่ร้อยละ 98 ของวงเงินงบประมาณ รวมทั้งการเบิกจ่ายภายใต้ของแผนงานและโครงการที่ได้รับการอนุมัติภายใต้พระราชกาหนดเงินกู้ฯ เพิ่มเติม พ.ศ. 2564 วงเงิน 5 แสนล้านบาท  2) การลงทุนรวม คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 เทียบกับร้อยละ 3.4 ในปี 2564 และเป็นการปรับลดจากการขยายตัวร้อยละ 4.0 ในประมาณการครั้งก่อน โดย (1) การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.5 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.3 ในปี 2564 และปรับลดจากร้อยละ 3.8 ในการประมาณการครั้งก่อน และ (2) การลงทุนภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.4 เทียบกับร้อยละ 3.8 ในปี 2564 และปรับลดลงจากร้อยละ 4.6 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา สอดคล้องกับการปรับลดสมมติฐานการเบิกจ่ายงบลงทุนภายใต้งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2565  3) มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.3 เทียบกับร้อยละ 18.8 ในปี 2564 และปรับเพิ่มจากร้อยละ 4.9 ในการประมาณการครั้งก่อน โดยเป็นผลจากการปรับเพิ่มสมมติฐานราคาส่งออกให้สอดคล้องกับสมมติฐานราคาน้ามันและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ในขณะที่ปริมาณการส่งออกสินค้าคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.5 ปรับลดลงจากร้อยละ 3.9 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการปรับลดสมมติฐานการขยายตัวของเศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลก ขณะที่การส่งออกบริการมีแนวโน้มขยายตัวสูงกว่า การประมาณการครั้งที่ผ่านมาตามการปรับเพิ่มสมมติฐานจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ เมื่อรวมกับการส่งออกสินค้าทาให้ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2565 มีแนวโน้มที่จะขยายตัวร้อยละ 8.3 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 8.9 ในการประมาณการครั้งก่อน และร้อยละ 10.4 ในปี 2564  4) มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปเงินดอลลาร์ สรอ. คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 10.9 เทียบกับร้อยละ 23.4 ในปี 2564 และปรับเพิ่มจากร้อยละ 5.9 ในการประมาณการครั้งที่ผ่านมา โดยเป็นผลจากการปรับเพิ่มสมมติฐานราคานาเข้าให้สอดคล้องกับการปรับเพิ่มสมมติฐานราคาน้ามันและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ขณะที่ปริมาณการนาเข้าสินค้าคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.4 ต่ากว่าการขยายตัวร้อยละ 4.4 ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการปรับลดประมาณการการส่งออกสินค้า การลงทุน และการบริโภคภาคเอกชน ขณะที่การนาเข้าบริการขยายตัวเร่งขึ้น ตามแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของการเดินทางออกนอกประเทศของคนไทยภายหลังจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการเดินทางระหว่างประเทศทั้งของไทยและประเทศอื่น ๆ มากขึ้น เมื่อรวมกับการนาเข้าสินค้า คาดว่าปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการในปี 2565 จะขยายตัวร้อยละ 5.1 เทียบกับร้อยละ 4.0 ในการประมาณการครั้งก่อน และร้อยละ 17.9 ในปี 2564  5) ดุลการค้า คาดว่าจะเกินดุล 3.46 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. เทียบกับการเกินดุล 4.00 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในปี 2564 และลดลงจาก การเกินดุล 3.97 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. ในการประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับเพิ่มประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลค่าการนาเข้าสินค้ามากกว่าการเพิ่มขึ้นของอัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก ขณะที่ดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มขาดดุล 7.6 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ร้อยละ -1.5 ของ GDP) ต่อเนื่องจากการขาดดุล 1.06 หมื่นล้านดอลลาร์ สรอ. (ร้อยละ -2.1 ของ GDP) ในปี 2564 และเทียบกับ การเกินดุล 7.7 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ร้อยละ 1.5 ของ GDP) ในการประมาณการครั้งก่อน สอดคล้องกับการปรับประมาณการ การส่งออกและนาเข้าสินค้าและบริการ  6) เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยทั้งปี 2565 จะอยู่ในช่วงร้อยละ 4.2 - 5.2 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.2 ในปี 2564 และปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.5 - 2.5 ในประมาณการครั้งก่อน ตามการปรับเพิ่มสมมติฐานราคาน้ามันดิบที่ส่งผลให้ราคาสินค้าในหมวดพลังงานและราคาสินค้าอาหารเพิ่มขึ้นสูงกว่าการประมาณการครั้งที่ผ่านมา  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  40  NESDC  Economic Outlook  การบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาคในปี 2565 ควรให้ความสาคัญกับ  1) การรักษาแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากการใช้จ่ายของภาคครัวเรือน โดยให้ความสาคัญกับ (1) การติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรคโควิดเพื่อให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคครัวเรือนและธุรกิจสามารถปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติได้อย่างต่อเนื่อง (2) การดูแลและแก้ไขปัญหาหนี้สินของครัวเรือน เพื่อไม่ให้เป็นข้อจากัดต่อการขยายตัว (3) การดูแลกลไกตลาดเพื่อให้ราคาสินค้าเคลื่อนไหวสอดคล้องกับต้นทุนการผลิต และ (4) การดูแลกลุ่มที่มีความเปราะบางต่อการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า  2) การสนับสนุนการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวและบริการเกี่ยวเนื่อง โดยให้ความสาคัญกับ (1) การส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ โดยคานึงถึงการกระจายผลประโยชน์ไปยังพื้นที่เมืองรอง รวมทั้งกิจการขนาดกลางและขนาดย่อม (2) การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว และกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพและมีกาลังซื้อสูงโดยเฉพาะกลุ่มพานักระยะยาว (3) การรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวชาวไทยที่นิยมเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศกลับมาท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึ้น (4) การพิจารณามาตรการสินเชื่อและมาตรการสนับสนุนอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้ประกอบการในภาคการท่องเที่ยวสามารถกลับมาประกอบธุรกิจ และ (5) การส่งเสริมการพัฒนา การท่องเที่ยวคุณภาพสูง และยกระดับศักยภาพและฟื้นฟูภาคการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและยั่งยืน โดยเฉพาะการให้ความสาคัญกับ ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก การบริหารจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการรักษามาตรฐาน ความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว  3) การรักษาแรงขับเคลื่อนจากการส่งออกสินค้า ให้สามารถสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการรักษาระดับ การจ้างงานในภาคการผลิต โดยให้ความสาคัญกับ (1) การขับเคลื่อนการส่งออกสินค้าสาคัญไปยังตลาดหลักที่มีการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ ที่ชัดเจน และการสร้างตลาดใหม่ให้กับสินค้าที่มีศักยภาพ โดยเฉพาะกลุ่มประเทศที่ได้ประโยชน์จากการเพิ่มขึ้นของราคาพลังงาน (2) การติดตามและระมัดระวังมาตรการทางเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ที่อาจขยายขอบเขตและส่งผลโดยตรงต่อการส่งออกของไทย (3) การพัฒนาสินค้าเกษตร อาหาร และสินค้าอุตสาหกรรม ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตรงตามข้อกาหนดของประเทศผู้นาเข้า (4) การใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ควบคู่ไปกับการเร่งรัดการเจรจาความตกลงการค้าเสรีที่กาลัง อยู่ในขั้นตอนของการเจรจา และเตรียมศึกษาเพื่อเจรจากับประเทศคู่ค้าสาคัญใหม่ ๆ รวมทั้งการเร่งรัดกระบวนการพิจารณาในการตัดสินใจ เข้าร่วมความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) โดยมุ่งเน้นผลประโยชน์ของประเทศเป็นสาคัญ และ (5) การปกป้อง ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและการเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิต  4) การส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน โดยให้ความสาคัญกับ (1) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการที่ได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี 2562 - 2564 ให้เกิดการลงทุนจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการลงทุนที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย (2) การแก้ไขปัญหาที่นักลงทุนและผู้ประกอบการต่างชาติเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการลงทุนและการประกอบธุรกิจ รวมทั้งปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิต (3) การดาเนินมาตรการส่งเสริมการลงทุนเชิงรุกและอานวยความสะดวกเพื่อดึงดูดนักลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายให้เข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้น ควบคู่ไปกับการดึงดูดนักลงทุนจากกลุ่มประเทศใหม่ ๆ ที่มีศักยภาพ (4) การส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษต่าง ๆ ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว รวมถึงขับเคลื่อนพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษในแต่ละภูมิภาค (5) การขับเคลื่อนการลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ๆ ให้เป็นไปตามแผนที่กาหนดไว้ และ (6) การพัฒนากาลังแรงงานทักษะสูงเพื่อรองรับกับอุตสาหกรรมที่เน้นเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้มข้นโดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่  5) การขับเคลื่อนการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ ประกอบด้วย (1) การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2565 ให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 92.5 ของกรอบงบประมาณทั้งหมด และงบลงทุนรัฐวิสาหกิจให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของงบประมาณทั้งหมด รวมทั้งการเบิกจ่ายโครงการตามพระราชกาหนดฯ เงินกู้วงเงิน 1 ล้านล้านบาท และ 5 แสนล้านบาทในส่วนที่เหลือ (2) การขับเคลื่อนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ของภาครัฐทั้งในด้านการลงทุนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งให้เป็นไปตามแผนงาน โดยเฉพาะการเร่งรัดดาเนินการในโครงการที่สาคัญ ๆ ที่ได้มีการอนุมัติให้ดาเนินการแล้ว อาทิ โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน โครงการรถไฟชานเมือง โครงการลงทุนสาคัญด้านพลังงาน เป็นต้น และ (3) การเพิ่มศักยภาพทางการคลังโดยมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้และการใช้จ่าย เพื่อให้ฐานะการคลังอยู่ในระดับที่เพียงพอในการสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายใต้ความไม่แน่นอนของการแพร่ระบาดในระยะต่อไป  6) การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร ให้ความสาคัญกับ (1) การบริหารจัดการน้าอย่างเหมาะสมเพื่อเตรียมการรองรับฤดูกาลเพาะปลูก ควบคู่ไปกับการเตรียมการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ และ (2) การบรรเทาผลกระทบจากปัญหาต้นทุนวัตถุดิบทางการเกษตรเพิ่มขึ้น อาทิ การส่งเสริมให้เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพได้ด้วยตนเองและลดการพึ่งพิงการนาเข้าปุ๋ยจากต่างประเทศ  7) การติดตาม เฝ้าระวัง และเตรียมมาตรการรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจและการเงินโลกจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองระหว่างประเทศที่ยังคงมีความไม่แน่นอนสูงและมีแนวโน้มจะสร้างแรงกดดันและส่งผลกระทบซ้าเติมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจท่ามกลางแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินโลก  6. ประเด็นการบริหารนโยบายเศรษฐกิจมหภาค  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค 17 พฤษภาคม 2565 41  Economic Outlook NESDC  สัดส่วนการส่งออกสินค้าสาคัญของรัสเซียและยูเครนที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย  21  19  10 11  7  6  4  3  1 18  รัสเซีย จีน แคนาดา โมร็อกโก สหรัฐฯ  ซาอุฯ กาตาร์ อิหร่าน ยูเครน อื่นๆ  สัดส่วนการส่งออก  ปุ ยในตลาดโลก  ปี 2564  15  14  14  13  10  9  5  4  4 12  สหรัฐฯ รัสเซีย ออสเตรเลีย แคนาดา ยูเครน  ฝรั่งเศส อาร์เจนตินา เยอรมนี อินเดีย อื่นๆ  สัดส่วนการส่งออก  ข้าวสาลีในตลาดโลก  ปี 2564  24  15  8 11  7  6  6  5  3  15  รัสเซีย บราซิล ยูเครน อินเดีย อิหร่าน  เวียดนาม ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย เม็กซิโก อื่นๆ  สัดส่วนการส่งออก  เหล็กกึ่งสาเร็จรูป  ในตลาดโลก  ปี 2564  22  15  8  7 8  6  6  6  5  17  จีน ซาอุฯ มาเลเซีย รัสเซีย แคนาดา  กาตาร์ โอมาน เกาหลีใต้ เบลารุส อื่นๆ  สัดส่วนการนาเข้า  ปุ ยของไทย  ปี 2564  37  21  10  8  5  4  4  4  2  5  โอมาน ญี่ปุ่น อินเดีย รัสเซีย มาเลเซีย  อินโดนีเซีย อิหร่าน UAE ยูเครน อื่นๆ  สัดส่วนการนาเข้า  เหล็กกึ่งสาเร็จรูป  ของไทย  ปี 2564  ที่มา: Global Trade Atlas  39  26  13  7  7  4  2 2  ออสเตรเลีย สหรัฐฯ ยูเครน อาร์เจนตินา  แคนาดา โรมาเนีย บราซิล บัลแกเรีย  สัดส่วนการนาเข้า  ข้าวสาลีของไทย  ปี 2564  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  42  NESDC  Economic Outlook  มาตรการสาคัญที่รัฐบาลได้ดาเนินการเพื่อเยียวยาและฟื้นฟูผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19  มาตรการ  รายละเอียด  1. มาตรการช่วยเหลือภาคครัวเรือน  มาตรการรักษาระดับการบริโภคภายในประเทศและเพิ่มกาลังซื้อให้แก่กลุ่มผู้มีรายได้น้อย และประชาชนทั่วไป  ? มาตรการลดภาระค่าครองชีพให้แก่ประชาชนในกลุ่มที่จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วยผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ระยะที่ 4 จานวน 200 บาทต่อคนต่อเดือน เป็นระยะเวลา 3 เดือน (ก.พ. - เม.ย. 65)  ? โครงการคนละครึ่งระยะที่ 4 รัฐร่วมจ่ายร้อยละ 50 ไม่เกิน 150 บาท/คน/วัน ไม่เกินคนละ 1,200 บาทตลอดโครงการ (ก.พ. - เม.ย. 65)  ? โครงการช้อปดีมีคืน สาหรับผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซื้อสินค้าที่จ่ายจริงไม่เกิน 30,000 บาท นาไปลดหย่อนภาษีปีภาษี 2565  มาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่า ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ สาหรับลูกค้ารายย่อย  ? โครงการสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายฉุกเฉินสาหรับผู้มีอาชีพอิสระและผู้มีรายได้ประจาที่ได้รับผลกระทบ COVID-19 วงเงินรวม 25,000 ล้านบาท (ธ.ออมสิน)  ? โครงการสินเชื่อกู้ภัย COVID-19 เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่ วงเงิน 20,000 ล้านบาท (ธ.ก.ส. และ ธ.ออมสิน)  ? มาตรการสินเชื่อสู้ภัย COVID-19 สาหรับผู้มีรายได้ประจา ประกอบอาชีพอิสระ และเกษตรกรรายย่อยหรือลูกจ้างภาคการเกษตร วงเงิน 20,000 ล้านบาท (ธ.ก.ส.)  ? มาตรการพักชาระหนี้ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยขยายระยะเวลาพักชาระหนี้ให้แก่ลูกค้ารายย่อย ออกไปจนถึงเดือนมีนาคม 2565 ตามความสมัครใจ  ? โครงการของขวัญปีใหม่ปี 2565 ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ อาทิ โครงการวินัยดี มีเงิน (ธ.ออมสิน) โครงการชาระดีมีคืน (ธ.ก.ส.) โครงการลดดอกเบี้ยสู้โควิด (ธ.ก.ส.) และมาตรการยกเว้นค่าดาเนินการค้าประกันสินเชื่อ (บสย.) เป็นต้น  มาตรการภาษี เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และบรรเทาผลกระทบ  ? มาตรการลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมสาหรับที่อยู่อาศัย โดยการลดค่าธรรมเนียมการโอนจากร้อยละ 2 ลงเหลือร้อยละ 0.01 และลดค่าธรรมเนียมการจานองจากร้อยละ 1 ลงเหลือร้อยละ 0.01  ? มาตรการขยายเวลาลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันเครื่องบิน  ? การยกเว้นอากรศุลกากรสาหรับของที่นาเข้ามาเพื่อใช้รักษา วินิจฉัย หรือป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  ? การยกเว้นอัตราค่าปรับเป็นอัตราร้อยละ 0 สาหรับงานก่อสร้างของภาครัฐที่มีการส่งมอบงานงวดสุดท้าย  ? มาตรการยกเว้นค่าธรรมเนียมการอนุญาตขายสุรา ยาสูบและไพ่  มาตรการลดค่าครองชีพเพื่อลดผลกระทบของเหตุการณ์ความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน  ? ผู้ใช้ก๊าซหุงต้มที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 3.6 ล้านคน ได้รับการเพิ่มวงเงินช่วยเหลือค่าก๊าซหุงต้มเป็น 100 บาท ต่อ 3 เดือน (พ.ค. - ก.ค. 65)  ? ผู้ค้าหาบเร่แผงลอยที่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 1,500 คน ได้รับส่วนลดซื้อก๊าซหุงต้มเดือนละ 100 บาท (พ.ค. - ก.ค. 65)  ? ผู้ขับขี่มอเตอร์ไซค์รับจ้าง 1.57 แสนคน ได้รับส่วนลดค่าน้ามันแก๊สโซฮอลล์ 5 บาทต่อลิตร จานวน 50 ลิตร (พ.ค. - ก.ค. 65)  ? ตรึงราคาน้ามันดีเซล ไว้ที่ 30 บาทต่อลิตร จนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 65 และตรึงราคาขายปลีก NGV ที่ 15.59 บาทต่อกิโลกรัม (พ.ค. - ก.ค. 65)  ? ผู้ขับรถแท็กซี่ที่อยู่ในโครงการลมหายใจเดียวกัน ได้ซื้อก๊าซในราคา 13.62 บาทต่อกิโลกรัม ในวงเงิน 10,000 บาทต่อเดือน เป็นเวลา 3 เดือน (พ.ค. - ก.ค. 65)  ? ครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้าต่ากว่า 300 หน่วย จานวน 20 ล้านหลังคาเรือน ได้รับส่วนลดค่า FT เป็นเวลา 4 เดือน (พ.ค. - ส.ค. 65)  ? นายจ้างและผู้ประกันตนในมาตรา 33 จานวน 11.2 ล้านคน ได้รับการลดเงินนาส่งจากร้อยละ 5 เหลือร้อยละ 1 งวดค่าจ้าง (พ.ค. ? ก.ค. 65)  ? ผู้ประกันตนในมาตรา 39 จานวน 1.9 ล้านคน ได้ลดเงินนาส่งจากร้อยละ 9 เหลือร้อยละ 1.9 หรือจาก 432 บาทต่อเดือน ลดเหลือ จานวน 91 บาทต่อเดือน ในงวดค่าจ้าง (พ.ค. ? ก.ค. 65)  ? เกษตรกร 9 ล้านคน จะได้รับประโยขน์จากการแก้ไขปัญหาปุ๋ยแพงและอาหารสัตว์ขาดแคลน  2. มาตรการฟื้นฟูภาคท่องเที่ยว  โครงการเราเที่ยวด้วยกัน  โครงการเราเที่ยวด้วยกันระยะที่ 4 รับส่วนลดค่าที่พักร้อยละ 40 จานวน 10 คืน/คน จานวน 2 ล้านสิทธิ คูปองสาหรับใช้จ่ายสูงสุด 600 บาทต่อวัน และเงินคืนค่าตั๋วเครื่องบินสูงสุด 3,000 บาท ทั้งนี้ ได้ขยายสิทธิโครงการฯ อีก 1 ล้านสิทธิ และขยายระยะเวลาดาเนินการจากเดิมสิ้นสุด 31 พ.ค. 65 เป็นวันที่ 30 ก.ย. 65  โครงการทัวร์เที่ยวไทย  รัฐบาลสนับสนุน ค่าเดินทางของประชาชนในลักษณะร่วมจ่าย (Co-pay) ร้อยละ 40 ของค่าใช้จ่ายแพ็กเกจนาเที่ยว แต่ไม่เกิน 5,000 บาท รวม 1 ล้านสิทธิ์ กรอบวงเงิน 5,000 ล้านบาท ทั้งนี้ ขยายระยะเวลาเริ่มดาเนินการเป็นสิ้นสุดในวันที่ 30 ก.ย. 65  มาตรการเปิดประเทศ  มาตรการเปิดประเทศเต็มรูปแบบในวันที่ 1 พฤษภาคม 2565 โดยการปรับลดระดับสีพื้นที่โควิด-19 และการผ่อนคลายมาตรการวิด-19 ทั้งการขยายระยะเวลาในการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร้านอาหารได้ไม่เกิน 24.00 น. และให้เป็นไปตามมาตรการ COVID free setting และการลดวันกักตัวสาหรับผู้สัมผัสใกล้ชิดเสี่ยงสูงกับผู้ป่วยโควิด-19 รวมถึงการยกเลิก Test & Go และแบ่งนักท่องเที่ยวเป็นกลุ่มที่ได้รับวัคซีนและไม่ได้รับวัคซีน  3. มาตรการช่วยเหลือภาคธุรกิจและผู้ประกอบการ SMEs  มาตรการด้านการเงินเพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ SMEs  ? มาตรการสนับสนุนการรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อชาระหนี้ (มาตรการพักทรัพย์ พักหนี้) ภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 วงเงิน 100,000 ล้านบาท  ? มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหม่ ของธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่  ? การให้สถาบันการเงินช่วยเหลือลูกหนี้ตามความเหมาะสมกับประเภทสินเชื่อและคานึงถึงความเสี่ยงของลูกหนี้ อาทิ (1) การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (2) การให้เงินทุนหมุนเวียนและเสริมสภาพคล่องเพิ่มเติม (3) การพิจารณาชะลอการชาระหนี้ และ (4) ผ่อนปรนเงื่อนไขอื่นตามความเหมาะสม เป็นต้น  ? มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้รายย่อยเพิ่มเติมด้วยวิธีการรวมหนี้ (debt consolidation)  ? มาตรการการใช้หลักเกณฑ์การจัดชั้นและการกันเงินสารองของธนาคารแบบยืดหยุ่น  ? มาตรการช่วยเหลือและบรรเทาภาระหนี้ของ ธปท. เพื่อช่วยเหลือลูกหนี้ที่มีเจ้าหนี้หลายราย (โครงการ DR BIZ)  ? มาตรการปรับลดอัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบการเงิน (FIDF)  ? การปรับวิธีคิดดอกเบี้ยผิดนัดชาระหนี้  ? การสนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ให้เข้าถึงการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ  ? มาตรการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานระยะเวลาการให้สินเชื่อการค้า (Credit term) ในประเทศไทย (ลูกหนี้การค้าจะต้องชาระหนี้ให้แก่คู่ค้าภายใน 30 - 45 วัน)  ? มาตรการทางภาษีอากรและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ โดยยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ให้แก่ลูกหนี้และเจ้าหนี้ รวมทั้งผ่อนปรน การจาหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจ้าหนี้ สาหรับการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้ของสถาบันการเงิน ลูกหนี้ของเจ้าหนี้ที่มิใช่สถาบันการเงิน และลูกหนี้ของเจ้าหนี้อื่นซึ่งได้ดาเนินการ เจรจาร่วมกับสถาบันการเงิน ตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกาหนด  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  43  NESDC  Economic Outlook  มาตรการสาคัญที่รัฐบาลได้ดาเนินการเพื่อเยียวยาและฟื้นฟูผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 (ต่อ)  มาตรการ  รายละเอียด  3. มาตรการช่วยเหลือภาคธุรกิจและผู้ประกอบการ SMEs (ต่อ)  มาตรการเพื่อเสริมสภาพคล่องสาหรับผู้ประกอบการ  ? มาตรการรสนับสนุนการให้สินเชื่อแก่ผู้ประกอบธุรกิจ (มาตรการสินเชื่อฟื้นฟู) วงเงิน 250,000 ล้านบาท ภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบ จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  ? โครงการสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการรายย่อยที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) วงเงิน 10,000 ล้านบาท (ธพว.)  ? โครงการสินเชื่อฟื้นฟูท่องเที่ยวไทย ผ่านธนาคารออมสิน วงเงิน 5,000 ล้านบาท (ธ.ออมสิน)  ? โครงการสินเชื่อเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชน (Local Economy Loan) วงเงิน 50,000 ล้านบาท (ธพว.)  ? โครงการสินเชื่อ SME มีที่ มีเงิน สาหรับธุรกิจการท่องเที่ยวและสาขาธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง วงเงิน 10,000 ล้านบาท (ธ.ออมสิน)  ? โครงการสินเชื่อ GSB SMEs เต็มสุข เต็มสิบ วงเงิน 5,000 ล้านบาท (ธ.ออมสิน)  ? โครงการสินเชื่ออิ่มใจ สาหรับร้านอาหารที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วงเงินรวม 2,000 ล้านบาท (ธ.ออมสิน)  ? โครงการสินเชื่อ EXIM Biz Transformation Loan วงเงิน 5,000 ล้านบาท (ธสน.)  ? มาตรการสินเชื่อสร้างงาน สร้างอาชีพ วงเงิน 5,000 ล้านบาท (ธ.ออมสิน)  ? สินเชื่อ SMEs D Plus สินเชื่อ SMEs D เพื่อการลงทุน และสินเชื่อ SMEs D เสริมสภาพคล่อง วงเงินรวม 15,000 ล้านบาท (ธพว.)  มาตรการเสริมสภาพคล่อง (ด้านการค้าประกันสินเชื่อ)  ? โครงการค้าประกันสินเชื่อ SMEs ไทยสู้ภัยโควิด (ภายใต้โครงการค้าประกันสินเชื่อ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 9 วงเงิน 150,000 ล้านบาท) กรอบวงเงิน 5,000 ล้านบาท (บสย.)  ? โครงการค้าประกันสินเชื่อ Micro ไทยสู้ภัยโควิด (ภายใต้โครงการค้าประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการ Micro Entrepreneurs ระยะที่ 4 วงเงิน 25,000 ล้านบาท) กรอบวงเงิน 5,000 ล้านบาท (บสย.)  ? โครงการค้าประกันสินเชื่อ ภายใต้พระราชกาหนดการให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564  มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและการลงทุน โดยการดึงดูดชาวต่างชาติ  มาตรการเพื่อดึงดูดผู้พานักระยะยาวเพื่อสร้างรายได้ให้ประเทศไทย รวมถึงกระตุ้นเศรษฐกิจ การลงทุน และการจ้างงานในอนาคต โดยการดึงดูดผู้พานักระยะยาวจานวน 1 ล้านรายเข้าสู่ประเทศไทย คาดว่าสร้างเม็ดเงินจากการใช้จ่ายภายในประเทศ 1 ล้านล้านบาท เกิดการลงทุน 8 แสนล้านบาท สร้างรายได้จากภาษีเพิ่มขึ้น 2.5 แสนล้านบาท รวมทั้งกระตุ้นเศรษฐกิจในอุตสาหกรรมเป้าหมาย  4. มาตรการช่วยเหลือแรงงาน  มาตรการเพิ่มสิทธิประโยชน์กรณีว่างงาน  ? ผู้ประกันตนมาตรา 33 ได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างงาน อัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างรายวัน ตามที่ส่งเงินสมทบไม่เกิน 90 วัน  ? คุ้มครองผู้ประกันตนตามมาตรา 33 กรณีว่างงานจากการถูกเลิกจ้างและลาออก  มาตรการเยียวยาผู้ประกันตน  ? ช่วยเหลือ เยียวยา บรรเทาความเดือนร้อนแก่นายจ้างและผู้ประกันตนมาตรา 33 (ผู้ประกันตน ม 33) ในกิจการที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการของรัฐในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดในพื้นที่ 13 จังหวัด (กลุ่มจังหวัดได้รับเยียวยาเพิ่ม 1 เดือนในเดือนสิงหาคม 2564 ) โดยการจ่ายเงินเยียวยาให้แก่ผู้ประกอบการในอัตรา 3,000 บาทต่อลูกจ้างหนึ่งคนสูงสุดไม่เกิน 200 คน และการจ่ายเงินเยียวยาให้กับผู้ประกันตน มาตรา 33 ในอัตรา 2,500 บาทต่อคน โดยขยายระยะเวลาดาเนินการจนถึง มี.ค. 65  ? กลุ่มผู้ประกันตนมาตรา 39 และมาตรา 40 ในกิจการที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการของรัฐในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด โดยแบ่งเป็น 1) การจ่ายเงินเยียวยาให้แก่ผู้ประกันตนมาตรา 39 ในอัตรา 5,000 บาทต่อคน และ 2) การจ่ายเงินเยียวยาผู้ประกันตนมาตรา 40 ดังนี้ (1) โอนเงินเยียวยาในพื้นที่ 16 จังหวัดสีแดงเข้ม ในอัตรา 5,000 บาทต่อคน (2) โอนเงินเยียวยาในพื้นที่ 13 จังหวัดสีแดงเข้ม ในอัตรา 5,000 บาทต่อคน และ (3) โอนเงินเยียวยาในพื้นที่ 3 จังหวัดเพิ่มเติม ในอัตรา 5,000 บาท ทั้งนี้ ได้ขยายระยะเวลาดาเนินการจนถึง มี.ค. 65  ? กลุ่มผู้ประกันตนมาตรา 39 และมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพสถานในกิจการสถานบันเทิงและผู้ประกอบอาชีพอิสระ ที่ยังไม่สามารถประกอบอาชีพได้ เนื่องจากมาตรการของรัฐบาลสั่งปิดสถานที่และสถานประกอบการ เป็นการชั่วคราว ได้รับเงินเยียวยาในอัตรา 5,000 บาทต่อคน ระยะเวลา 1 เดือน โดยเริ่มโอนเงินเยียวยารอบแรกในวันที่ 29 ธ.ค. 65 และรอบต่อไปในวันที่ 7 ม.ค. 65 ทั้งนี้ จะดาเนินการโอนเงินเยียวยาไปจนถึง 31 มี.ค. 65  มาตรการรักษาระดับการจ้างงานให้แก่ธุรกิจ SMEs  ส่งเสริมและรักษาระดับการจ้างงานภาคเอกชนที่อยู่ในระบบประกันสังคม โดยรัฐจ่ายเงินอุดหนุนให้กับลูกจ้างสัญชาติไทยในอัตรา 3,000 บาทต่อคนต่อเดือน สูงสุดไม่เกิน 200 คน เป็นระยะเวลา 3 เดือน โดยจะได้รับเงินอุดหนุนตามยอดการจ้างงานจริงของทุกเดือน ทั้งนี้ นายจ้างจะต้องรักษาระดับการจ้างงานไม่ต่ากว่าร้อยละ 95 ในระหว่างเข้าร่วมโครงการ (พ.ย. 64 - ม.ค. 65)  5. มาตรการช่วยเหลือบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา  มาตรการประกันราคาสินค้าเกษตร  ? โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2563/64 วงเงิน 50,600 ล้านบาท ปีการผลิต 2564/65 วงเงิน 89,000 ล้านบาท และปีการผลิต 2564/65 รอบที่ 1 (เพิ่มเติม) วงเงิน 74,569 ล้านบาท  ? โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2563/64 วงเงิน 1,913 ล้านบาท ปี 2564/65 วงเงิน 1,863 ล้านบาท และมาตรการคู่ขนานโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2564/65 ในโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปี 2564/65 วงเงิน 1,030 ล้านบาท  ? โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลัง ปี 2563/64 วงเงิน 9,789 ล้านบาท ปี 2564/65 วงเงิน 6,811 ล้านบาท และมาตรการคู่ขนานโครงการประกันรายได้ฯ ปี 2564/65 ประกอบด้วย โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกมันสาปะหลัง ปี 2564/65 และโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมมันสาปะหลังและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปี 2564/65 วงเงิน 56.4 ล้านบาท  ? โครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ามัน ปี 2562 - 2563 วงเงิน 13,378 ล้านบาท และปี 2564 - 2565 วงเงิน 7,660 ล้านบาท  ? โครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนยาง 3 ระยะ รวมวงเงิน 46,789 ล้านบาท  มาตรการเพื่อช่วยเหลือด้านพลังงาน  ? การลดภาษีสรรพสามิตดีเซลลงลิตรละ 3 บาท (ถึง 20 พ.ค. 65)  ? การอุดหนุนราคาดีเซลโดยกองทุนน้ามันและเชื้อเพลิง  โครงการพาณิชย์ลดราคา ช่วยประชาชน  โครงการพาณิชย์ลดราคา ช่วยประชาชน Lot 17 Back to school โดยช่วยลดภาระค่าครองชีพให้กับประชาชนใน 7 หมวดสินค้า ได้แก่ 1) ชุดนักเรียน 3,345 รายการ 2) รองเท้า ถุงเท้า 185 รายการ 3) กระเป๋านักเรียน 61 รายการ 4) ตาราเรียนและหนังสือเรียน 523 รายการ 5) เครื่องเขียน 59 รายการ 6) สื่อการเรียนการสอน 187 รายการ และ 7) อื่น ๆ 732 รายการ อาทิ กระติกน้า กล่องข้าว โต๊ะเขียนหนังสือ  กองยุทธศาสตร์และการวางแผนเศรษฐกิจมหภาค  17 พฤษภาคม 2565  44  NESDC  Economic Outlook  รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ Email : mspo-center@nesdc.go.th หรือ โทร. 0-2280-4085 ต่อ 6504 และ 6459  www.nesdc.go.th  ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 25651/  ข้อมูลจริง  ประมาณการปี 2565  2562  2563  2564  ณ 21 ก.พ. 65  ณ 17 พ.ค. 65  GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านบาท)  16,892.4  15,636.9  16,178.7  17,102.1  17,355.6  รายได้ต่อหัว (บาทต่อคนต่อปี)  243,705.2  224,962.4  232,160.1  244,838.2  248,468.1  GDP (ณ ราคาประจาปี: พันล้านดอลลาร์ สรอ.)  544.1  499.7  505.5  523.0  513.5  รายได้ต่อหัว (ดอลลาร์ สรอ. ต่อหัวต่อปี)  7,849.6  7,188.4  7,254.3  7,487.4  7,351.1  อัตราการขยายตัวของ GDP (CVM, %)  2.2  -6.2  1.5  3.5 - 4.5  2.5 - 3.5  การลงทุนรวม (CVM, %)2/  2.0  -4.8  3.4  4.0  3.5  ภาคเอกชน (CVM, %)  2.6  -8.2  3.3  3.8  3.5  ภาครัฐ (CVM, %)  0.1  5.1  3.8  4.6  3.4  การบริโภคภาคเอกชน (CVM, %)  4.0  -1.0  0.3  4.5  3.9  การอุปโภคภาครัฐบาล (CVM, %)  1.6  1.4  3.2  -0.2  -0.2  ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %)  -3.0  -19.7  10.4  8.9  8.3  มูลค่าการส่งออกสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/  242.7  227.0  269.6  282.9  289.2  อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/  -3.3  -6.5  18.8  4.9  7.3  อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/  -3.7  -5.8  15.1  3.9  3.5  ปริมาณการนาเข้าสินค้าและบริการ (ปริมาณ, %)  -5.2  -14.1  17.9  4.0  5.1  มูลค่าการนาเข้าสินค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)3/  216.0  186.1  229.6  243.2  254.6  อัตราการขยายตัว (มูลค่า, %)3/  -5.6  -13.8  23.4  5.9  10.9  อัตราการขยายตัว (ปริมาณ, %)3/  -5.8  -10.5  18.3  4.4  3.4  ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)  26.7  40.9  40.0  39.7  34.6  ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์ สรอ.)  38.0  21.2  -10.6  7.7  -7.6  ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%)  7.0  4.2  -2.1  1.5  -1.5  เงินเฟ้อ (%)  ดัชนีราคาผู้บริโภค  0.7  -0.8  1.2  1.5 - 2.5  4.2 - 5.2  GDP Deflator  1.0  -1.3  1.9  1.2 - 2.2  3.8 - 4.8  ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2565  หมายเหตุ: 1/ เป็นข้อมูลที่คานวณบนฐานบัญชีประชาชาติอนุกรมใหม่ ซึ่ง สศช. เผยแพร่ทาง www.nesdc.go.th  2/ การลงทุนรวม หมายถึง การสะสมทุนถาวรเบื้องต้น  3/ ตัวเลขการส่งออกและการนาเข้าเป็นไปตามฐานของธนาคารแห่งประเทศไทย                    ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ